bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

โรคทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับไต

โดย นพ.เจนวิทย์ วงศ์บุญสิน แพทย์ชำนาญการด้านอายุรศาสตร์โรคไต และเวชพันธุศาสตร์โรคไต

อ่านเพิ่มเติม

Bumrungrad Podcast EP.36 เลือกกินสิ่งที่ใช่ เพื่อไตแข็งแรง

โรคไตเป็นอีกหนึ่งโรค ที่เรื่องของอาหารมีผลเป็นอย่างมาก อาหารที่เลือกสามารถชะลออาการ หรือชะลอความเสื่อมของไต ได้อย่างไร มาเรียนรู้วิธีการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม เพื่อดูแลสุขภาพไตของคุณให้ strong ไปนานๆ กันค่ะ

อ่านเพิ่มเติม

Bumrungrad Podcast EP 33: โรคไต..ลดเสี่ยงได้ หากเช็คสุขภาพไตแต่เนิ่น ๆ

โรคไตในระยะเริ่มต้นมักไม่แสดงอาการ แบบนี้มีสัญญาณอะไร ที่บ่งบอกว่า ไตกำลังมีปัญหาต้องได้รับการดูแลอย่างเร่งด่วน มารับฟังข้อเท็จจริงที่คุณควรรู้ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติตัว และวิธีการลดความเสี่ยงโรคไต ที่ Bumrungrad Podcast

อ่านเพิ่มเติม

อาหารเพื่อไตที่แข็งแรง

“อาหารกับไตมีความสำคัญต่อกัน การรับประทานอาหารที่ผ่านการแปรรูปน้อย ปรุงแต่งรสชาติน้อยจะช่วยชะลอการทำงานของไตได้ดีกว่าผู้ที่รับประทานอาหารที่มีการแปรรูปมากและมีรสชาติจัด(เค็ม, เปรี้ยว, หวาน, เผ็ด) จะทำให้ไตทานหนักและไตเสื่อมลงได้”

อ่านเพิ่มเติม

7 กลุ่มเสี่ยง ไม่ควรเลี่ยงตรวจสุขภาพไต

“เนื่องจากไตเป็นอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย เพราะฉะนั้นจึงควรตรวจเช็กและประเมินความเสี่ยงสุขภาพไตเป็นประจำเป็นสิ่งควรทำ โดยเฉพาะบุคคลที่เป็น 7 กลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต(กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน, กลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูง, กลุ่มที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคไต, ผู้ป่วยโรคหัวใจ, ผู้ป่วยโรคอ้วน , ผู้ที่สูบบุหรี่ และผู้สูงอายุ)”

อ่านเพิ่มเติม

4 เหตุผลที่การตรวจสุขภาพไตมีความสำคัญ

ผู้ป่วยโรคไตระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ จึงทำให้สูญเสียโอกาสสำคัญในการรักษา การตรวจคัดกรองโรคไตจึงเป็นเรื่องสำคัญ

อ่านเพิ่มเติม

7 กลุ่มเสี่ยงไม่ควรเลี่ยงตรวจสุขภาพไต

“โรคไต” คือ หนึ่งในสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เนื่องจากไตเป็นอวัยวะที่สำคัญในการปรับสมดุลน้ำและเกลือแร่ภายในร่างกาย นอกจากนี้ยังเป็นอวัยวะที่ช่วยกำจัดสารเคมีรวมถึงยาที่เข้าสู่ร่างกาย ถ้าไตไม่ทำงานและไม่ได้รับการรักษา ก็ดำเนินชีวิตต่อไปไม่ได้ ผู้ป่วยโรคไตสามารถพบได้ในทุกช่วงอายุ ตั้งแต่เด็กเล็ก วัยรุ่น วัยกลางคน รวมถึงผู้สูงอายุ

อ่านเพิ่มเติม

ชีวิตที่ดีขึ้น หลังการผ่าตัดปลูกถ่ายไต

โรคไตในระยะแรกๆ นั้นมักไม่แสดงอาการ แต่ถ้าระยะหลังๆ ใกล้ระยะสุดท้ายของไตวายผู้ป่วยมักมีอาการปัสสาวะบ่อย บวม เหนื่อย หอบ อ่อนเพลีย นอนราบไม่ได้ และเบื่ออาหาร หากมีโรคอื่นๆ ร่วมด้วยจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีความกังวลมากขึ้น การผ่าตัดปลูกถ่ายไตเป็นอีกหนึ่งวิธีที่สามารถช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ได้ขึ้น

อ่านเพิ่มเติม

Bumrungrad Podcast EP 12: หมอไตไขคำถาม ปลูกถ่ายไต

สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย การผ่าตัดปลูกถ่ายไต เป็นอีกหนึ่งทางเลือกของการรักษาโรคไตเรื้อรังเพื่อให้ผู้ป่วยกลับมามีชีวิตได้เป็นปกติ

อ่านเพิ่มเติม