bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

อันตรายจากยานอนหลับ

​ยานอนหลับ เป็นยาที่ผู้มีอาการนอนไม่หลับนั้นอาจจะคุ้นเคยเป็นอย่างดี เนื่องจากให้ผลที่ทันใจ หลับง่าย แต่รู้หรือไม่ว่า การรับประทานยานอนหลับติดต่อกันเป็นเวลานานจะส่งผลเสียต่อสุขภาพมากมาย

อ่านเพิ่มเติม

อะดีนอยด์โต อีกหนึ่งสาเหตุของโรคนอนกรนในเด็ก

อะดีนอยด์เป็นน้ำเหลืองที่อยู่บริเวณด้านหลังของโพรงจมูก มีหน้าที่กำจัดเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย อะดีนอยด์มีบทบาทสำคัญในช่วงวัยเด็กตั้งแต่ 1-10 ปี แต่ค่อยๆลดหน้าที่ลงเมื่อเด็กโตเป็นวัยรุ่น ในเด็กที่เป็นโรคภูมิแพ้ โรคไซนัสอักเสบเรื้อรังหรือเป็นหวัดเรื้อรังซ้ำซาก ปัญหาเหล่านี้อาจไปกระตุ้นให้อะดีนอยด์โตขึ้นได้

อ่านเพิ่มเติม

นอนกรนหยุดหายใจสามารถรักษาได้ง่ายๆ ด้วยเครื่อง CPAP

เครื่อง CPAP นี้ทำหน้าที่ดันลมเข้าไปเพื่อเปิดทางเดินหายใจส่วนต้นให้กว้างออก ทำให้สมองได้รับออกซิเจนเต็ม ๆ แล้วก็สมองมีการนอนหลับ Deep Sleep ได้มากขึ้น

อ่านเพิ่มเติม

นอนกรนเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง

โรคหลอดเลือดสมองตีบหรือแตกได้ ซึ่งเกิดจากอาการกรนหยุดหายใจขณะหลับ ตอนกลางคืนจะทำให้มีออกซิเจนที่ต่ำลง มีความดันไม่คงที่ เกิดอาการเสื่อมของหลอดเลือดในระยะยาวได้ โดยจะทำให้เกิดหลอดเลือดอุดตันง่าย

อ่านเพิ่มเติม

นอนกรนเสี่ยงเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

การนอนไม่มีคุณภาพ สมองตื่นบ่อย ทำให้การหลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนลดลง นอกจากนั้นการที่ร่างกายขาดออกซิเจนขณะหลับ ออกซิเจนก็ไปเลี้ยงอวัยวะเพศลดลง และทำให้เส้นประสาทที่ไปเลี้ยงอวัยวะเพศเสื่อมด้วย

อ่านเพิ่มเติม

นอนกรน นอนไม่พอ เสี่ยงอัลไซเมอร์

โรคอัลไซเมอร์สัมพันธ์กับการสะสมโปรตีนที่เป็นพิษขึ้นในสมอง โดยปกติแล้วสมองจะมีกลไกที่กำจัดสารพิษนี้ได้เอง แต่หากนอนไม่ดีก็สามารถเกิดการสะสมของสารพิษนี้ได้

อ่านเพิ่มเติม

วิธีรักษาโรคกรนหยุดหายใจขณะหลับ

วิธีการรักษาโรคกรนและกรนหยุดหายใจขณะหลับมีหลายวิธี ซึ่งไม่จำเป็นต้องผ่าตัดเสมอไป

อ่านเพิ่มเติม

นอนกรนอันตรายอย่างไร

การนอนกรนนั้นมีทั้งแบบกรนธรรมดาและกรนหยุดหายใจขณะหลับ หากเป็นกรนหยุดหายใจขณะหลับ ไม่เพียงแค่ทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย ขาดสมาธิแต่ยังนำไปสู่โรคร้ายแรงอื่นๆเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวานและโรคซึมเศร้า

อ่านเพิ่มเติม

อันตรายจากการโรคกรนหยุดหายใจขณะหลับ

โรคกรนหยุดหายใจขณะหลับเกิดจากทางเดินหายใจมีการแคบลง ทำให้อากาศเข้าปอดได้ลดลงทำให้สมองและร่างกายขาดออกซิเจน

อ่านเพิ่มเติม