bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

ศูนย์ข้อเสื่อมและข้อเทียมขั้นแอดวานซ์ เพราะสุขภาพข้อของคุณคือ ความสุขของเรา

โรคข้อเสื่อมก็เป็นโรคที่หมายถึง ข้อรับน้ำหนักมีการเสื่อม ข้อเสื่อมในที่นี้ หมายถึงข้อสะโพกและข้อเข่า พบได้เมื่ออายุมากเกิน 45-60 ปี ในคนชาวไทยก็มักจะเป็นข้อเข่า อาจจะเริ่มต้นจากฝืดขัดแข็ง ลุกลำบาก จนกระทั่งเริ่มมีการผิดรูปของข้อเข่าเช่นขาโก่งหรือขาเก

อ่านเพิ่มเติม

สัญญาณเตือน ของข้อเข่าเสื่อม!

ข้อเข่าเสื่อมคือภาวะที่มีการเสื่อมหรือการสึกกร่อนของกระดูกบริเวณข้อเข่า ซึ่งมีปัจจัยหลายอย่างเช่น อายุที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีอายุมากกว่า 50 ปี กล้ามเนื้อที่ช่วยพยุงเข่ามีอาการอ่อนแรง น้ำหนักตัวที่เพิ่มมากขึ้น

อ่านเพิ่มเติม

ปวดสะโพกเรื้อรัง อย่าปล่อยทิ้งไว้!

สาเหตุของอาการปวดข้อสะโพกที่อาจจะพบได้บ่อยมากที่สุดคือ การเจ็บปวดของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น แตกต่างจากการออกกำลังกายหรือจากการใช้งาน ซึ่งการเจ็บปวดของกล้ามเนื้อเส้นเอ็นต่างๆ เหล่านี้ไม่ได้เป็นสาเหตุที่รุนแรงสามารถรักษาหายได้โดยการทานยาหรือว่าการพักผ่อน ส่วนสาเหตุอื่นๆ ที่มีความรุนแรงมักเกิดเป็นเวลายาวนาน จะเริ่มเจ็บขึ้นมาทีละนิด ยาวนานเป็นเดือน รักษาโดยการกินยาจะทำให้อาการดีขึ้นแต่ไม่สามารถทำให้ตัวโรคนั้นมันหายไป

อ่านเพิ่มเติม

รู้ก่อนผ่า! ข้อเข่าเสื่อมรักษาได้แบบไม่ต้องผ่าเต็มข้อ

ความแตกต่างระหว่างการผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าบางส่วน กับ เปลี่ยนผิวข้อเข่าทั้งข้อ คือ หากข้อเข่าเสื่อมเฉพาะส่วนก็จะเปลี่ยนผิวข้อบางส่วน และหากเสื่อมทั้งข้อก็จะเปลี่ยนข้อเข่าทั้งข้อ แพทย์เป็นผู้ประเมินอาการเสื่อมว่าเป็นมากหรือเป็นน้อย โดยดูจากภาพเอกซเรย์และภาพถ่าย MRI ประกอบว่ายืนยันว่าข้อเข่าคนไข้เสื่อมเฉพาะส่วนจริงๆ หรือทั้งข้อ

อ่านเพิ่มเติม

ผ่าข้อเทียมแล้วพัง แก้ไขใหม่ได้หรือไม่?

การผ่าตัดแก้ไขข้อเทียมที่เคยผ่าตัดมาแล้ว ข้อเทียมทุกอย่างสามารถเกิดปัญหาขึ้นได้ เพราะว่าข้อเทียมนั้น ไม่ใช่เป็นอวัยวะและไม่ได้มีชีวิตเพราะฉะนั้นการซ่อมแซมของตัวเองของข้อเทียม มันไม่มี และการป้องกันการติดเชื้อของข้อเทียมจะน้อยลง สาเหตุสำคัญ คือข้อเที่ยมนั้นใช้มานานจนมันเสื่อมสภาพและทำให้ข้อเทียมนั้นหลวมไป รวมถึงเรื่องการติดเชื้อไม่จำเป็นต้องผ่าตัดมาแล้วนานมันติดเชื้อขึ้นมาเมื่อไหร่ก็ได้ หรือมีการเคลื่อนหรือมีการเลื่อนหลุดของตัวข้อเทียมอาจจะด้วยสาเกตุ กระดูกหักจากอุบัติเหตุหรืออะไรต่างๆ เป็นต้น

อ่านเพิ่มเติม

เจาะลึก! ผ่าเข่าแบบไหน ใช่สำหรับคุณ?

ผ่าตัดข้อเข่าเทียมมี 2 แบบ คือการผ่าตัดข้อเข่าเทียมแบบครึ่งซีกหรือเปลี่ยนผิวข้อบางส่วน(Partial Knee Replacement) เหมาะกับผู้ป่วยโรคข้อในระดับสึกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง และ เปลี่ยนผิวข้อทั้งหมด(Total Knee Replacement) เหมาะกับผู้ป่วยที่มีผิวข้อสึกมากกว่า 1 ส่วนขึ้นไป Minimaly investige surgery หรือการผ่าตัดแบบแผลเล็กผสมผสานกับเทคนิคการคุมปวดที่เรียกว่า Minimal Pain Arthroplasty การคุมปวดแบบพิเศษ Opioid Anesthesia คือใช้ยาแก้ปวดกลุ่มพวกโอปิออยด์ หรือว่ามอร์ฟีนน้อยที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงผลข้างเคียงจากมอร์ฟีน คนไข้สามารถลุกขึ้นเดินได้ภายใน 10 ชั่วโมงหลังผ่าตัด

อ่านเพิ่มเติม

เปลี่ยนข้อเข่าเทียมแล้ว จะใช้งานได้ดีเหมือนเดิมหรือไม่?

เมื่อต้องผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า เปลี่ยนแล้ว.. จะกลับมาใช้งานได้ดีเหมือนเดิมหรือไม่ และข้อเทียมมีความแตกต่างจากข้อจริงมากน้อยแค่ไหนบทความนี้ช่วยเคลียร์ข้อสงสัยในประเด็นนี้ได้

อ่านเพิ่มเติม

ทำความรู้จัก นพ. วิชาญ กาญจนถวัลย์ หัวหน้าศูนย์เวชศาสตร์การกีฬาและข้อ แพทย์เฉพาะทางด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ และการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

นพ. วิชาญ กาญจนถวัลย์ หัวหน้าศูนย์เวชศาสตร์การกีฬาและข้อ แพทย์เฉพาะทางด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ และการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ผู้มีประสบการณ์การรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านกระดูก, ข้อเข่าและข้อไหล่

อ่านเพิ่มเติม

ทำความรู้จัก นพ. ชาลี สุเมธวานิชย์ แพทย์เฉพาะทางด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ - ข้อเทียม

ทำความรู้จัก นพ. ชาลี สุเมธวานิชย์ แพทย์เฉพาะทางด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ - ข้อเทียม ผู้มีประสบการณ์การรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านข้อเข่าและข้อสะโพก โดยเฉพาะการรักษาผู้ป่วยในเคสที่มีความยากและซับซ้อน (Complex Primary Hip & Knee Arthroplasty) หรือการผ่าตัดซ่อมเสริมข้อเทียมใหม่ (Hip & Knee Revision Surgery)

อ่านเพิ่มเติม