You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
นิ่วคือการตกตะกอนของแร่ธาตุต่างๆ ที่จับตัวกันเกิดเป็นผลึกเล็กๆในน้ำปัสสาวะ ซึ่งเมื่อผลึกเล็กๆเหล่านี้เกาะตัวรวมกัน จะเกิดเป็นชิ้นส่วนหรือก้อนเล็กๆ ที่เรียกว่านิ่ว มักเกิดขึ้นในไตเป็นหลัก แต่นิ่วสามารถเคลื่อนที่ตกลงมาในระบบทางเดินปัสสาวะได้ทุกส่วน เช่น ในท่อไต กระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ แล้วอาการแบบไหนที่เป็นสัญญาณเตือนว่าเป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ การรักษาทำได้อย่างไรบ้าง รวมถึงคำแนะนำดีๆ จากคุณหมอในการป้องกันตัวเองจากโรคนี้ ติดตามรายละเอียดได้เลยในบทความนี้
ในปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุหรือสูงวัยแล้ว สำหรับผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไปแล้วสิ่งที่ต้องระวังคือ มีภูมิคุ้มกันที่ค่อยๆถดถอยลงไปตามวัย ในกลุ่มโรคที่สำคัญคือโรคติดเชื้อ โรคงูสวัดเป็นภัยเงียบเนื่องจากจะไม่รู้ตัวก่อนที่เป็นโรคนี้
การตรวจหาไขมันพอกตับสามารถทำได้ 3 วิธี ได้แก่ อัลตราซาวด์, Fibroscan, และการตรวจเลือด โดยแต่ละวิธีมีวัตถุประสงค์ต่างกัน
อาหารอย่างชานมไข่มุก, หมูกะทะ และเบเกอรี่มักมีไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์สูง ซึ่งพบในน้ำมันและอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง การบริโภคมากเกินไปจะเพิ่มระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ทำให้ไขมันสะสมในตับและอาจนำไปสู่โรคตับไขมัน
การใช้ฮอร์โมนในระยะยาว เช่น การรักษาถุงน้ำรังไข่ การป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำของมะเร็งเต้านม หรือการปรับสมดุลฮอร์โมน อาจส่งผลต่อสุขภาพตับได้ ฮอร์โมนสามารถกระตุ้นให้เซลล์ตับสะสมไขมันเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจนำไปสู่การอักเสบและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตับ
โรคต่อมลูกหมากโทำให้ต้องปัสสาวะบ่อยครั้งและไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ ส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน คุณแซมมี่เล่าว่า “ผมอยู่ในสถานการณ์ที่ชีวิตผมถูกทำลายโดยสิ้นเชิง ผมไม่สามารถอยู่ห่างจากห้องน้ำได้เลย บางครั้งผมต้องกลับไปเข้าห้องน้ำทุก 30 วินาทีหรือทุก 1 นาที ผมไม่สามารถไปกินอาหารกับคนอื่นๆได้เพราะรู้สึกอาย แม้กระทั่งกับน้องชาย เราไม่สามารถกินอาหารด้วยกันได้อย่างที่ควรจะเป็นเพราะผมวิ่งเข้าห้องน้ำอยู่ตลอด
หากคุณมีอายุตั้งแต่ 19 ปี ขึ้นไป คุณควรได้รับการฉีดวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน 1 เข็ม ทุกๆ 10 ปี... เพราะภูมิคุ้มกันจากการฉีดวัคซีนในวัยเด็กของคุณ อาจไม่เพียงพอในการปกป้องคุณไปตลอดชีวิตจาก 3 โรคร้ายนี้!
ถึงแม้ผู้ป่วยโรคฝีคัณฑสูตรส่วนใหญ่จะรักษาให้หายขาดได้ด้วยการผ่าตัดเพียงครั้งเดียว แต่มีผู้ป่วยประมาณร้อยละ 20 ที่มีโอกาสเป็นโรคฝีคัณฑสูตรชนิดซับซ้อน (recurrent anal fistulas) ซึ่งเป็นโรคท้าทาย รักษาได้ยาก
โรคติดเชื้อแบคทีเรียนิวโมคอคคัส นำไปสู่โรคปอดอักเสบรุนแรงและการติดเชื้อในกระแสเลือดได้นับเป็นอีกหนึ่งโรคอันตรายที่มักพบในผู้สูงวัยและผู้ที่มีโรคประจำตัวทุกวัย สามารถป้องกันได้ด้วยการรับวัคซีน