bih.button.backtotop.text

กว่า 40 ปี แห่งความมุ่งมั่น เพื่อเอาชนะโรคมะเร็ง ศูนย์มะเร็งฮอไรซัน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ส่งมอบการบริบาลครอบคลุมทุกมิติ

28 มีนาคม 2567

​มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ประมาณ 20 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ 9.7 ล้านคน โดยคาดการณ์ว่าในปี 2593 จะมีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่มากกว่า 35 ล้านคน


มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ประมาณ 20 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ 9.7 ล้านคน โดยคาดการณ์ว่าในปี 2593 จะมีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่มากกว่า 35 ล้านคน และจากสถิติโรคมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ในปี 2565 พบว่า แต่ละปีมีคนไทยป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ประมาณ 140,000 คน (หรือเฉลี่ย 400 คนต่อวัน) และเสียชีวิตประมาณ 83,000 คน

โรงพยาบาลบำรุงราษฏร์จึงได้จัดงานแถลงข่าว “United in the fight against cancer” ด้วยความมุ่งมั่นที่จะเอาชนะโรคมะเร็ง โดยไม่เพียงแต่ที่จะวินิจฉัย และให้การรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ (Effectiveness)  อย่างแม่นยำ (Precision medicine) และอย่างเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย แต่เรายังมุ่งมั่นที่จะหาวิธีการคัดกรองทางพันธุกรรมผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง (Advance genomic testing for cancer screening) การจัดการกับความเสี่ยง เพื่อป้องกัน และ/หรือการลดความเสี่ยงของโรคมะเร็ง (Cancer risk reduction) ที่อาจจะเกิดขึ้น และการดูแลแบบประคับประคองแบบทุกมิติ (Comprehensive Palliative care) ในผู้ป่วยมะเร็งและครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด ด้วยวิวัฒนาการด้านการแพทย์ ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งวิทยา และสหสาขาวิชาชีพ
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนทั่วโลก โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) เปิดเผยว่า ในปี 2565 มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ประมาณ 20 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ 9.7 ล้านคน โดยคาดการณ์ว่าในปี 2593 จะมีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่มากกว่า 35 ล้านคน และจากสถิติโรคมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ในปี 2565 พบว่า แต่ละปีมีคนไทยป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ประมาณ 140,000 คน (หรือเฉลี่ย 400 คนต่อวัน) และเสียชีวิตประมาณ 83,000 คน

โรงพยาบาลบำรุงราษฏร์จึงได้จัดงานแถลงข่าว “United in the fight against cancer” ด้วยความมุ่งมั่นที่จะเอาชนะโรคมะเร็ง โดยไม่เพียงแต่ที่จะวินิจฉัย และให้การรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ (Effectiveness)  อย่างแม่นยำ (Precision medicine) และอย่างเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย แต่เรายังมุ่งมั่นที่จะหาวิธีการคัดกรองทางพันธุกรรมผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง (Advance genomic testing for cancer screening) การจัดการกับความเสี่ยง เพื่อป้องกัน และ/หรือการลดความเสี่ยงของโรคมะเร็ง (Cancer risk reduction) ที่อาจจะเกิดขึ้น และการดูแลแบบประคับประคองแบบทุกมิติ (Comprehensive Palliative care) ในผู้ป่วยมะเร็งและครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด ด้วยวิวัฒนาการด้านการแพทย์ ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งวิทยา และสหสาขาวิชาชีพ


news-horizon-cancer-03.jpg

news-horizon-cancer-11.jpg

news-horizon-cancer-10.jpg

news-horizon-cancer-09.jpg

news-horizon-cancer-08.jpg

news-horizon-cancer-07.jpg

news-horizon-cancer-05.jpg

news-horizon-cancer-06.jpg

news-horizon-cancer-04.jpg
    Scroll for more