You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
คุณรู้หรือไม่ ? ผู้บริจาค 1 คน สามารถช่วยเหลือ เพื่อนมนุษย์ได้ถึง 8 ราย การบริจาคอวัยวะ จึงเป็นการต่อชีวิต และให้โอกาส เพื่อนมนุษย์ในการดำเนินชีวิตต่อไป การปลูกถ่ายอวัยวะ คือ การผ่าตัดใส่อวัยวะ จากผู้บริจาค เพื่อยืดชีวิตและช่วยให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
การให้อวัยวะ คือการมอบโอกาสในการมีชีวิตใหม่ และเป็นของขวัญที่ล้ำค่าที่สุด
ประสบการณ์การเข้ารับการผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจ เพราะมีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะและได้รักษาด้วยการใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (pacemaker implantation) มาเป็นเวลา 20 ปี ต่อมาอาการเริ่มรุนแรงมากขึ้นจนกระทั่งเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจทำงานถึง 11 ครั้งใน 1 วัน ทำให้รู้สึกเจ็บปวดมากเวลาที่เครื่องกระตุ้นให้จังหวะหัวใจเต้นเป็นปกติของ คุณปราโมทย์ แววดี
การผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจนับเป็นการเพิ่มความหวังให้กับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวระยะสุดท้ายทีรักษาด้วยวิธีอื่นมาแล้วได้ผล ให้มีโอกาสได้กลับมาใช้ชีวิตปกติอีกครั้ง แต่การผ่าตัดที่ฟังดูจะน่ากลัวนี้จะประสบความสำเร็จมากน้อยแค่ไหน แล้วถ้าไม่รับการปลูกถ่ายหัวใจนี้จะเกิดอะไรขึ้น ติดตามได้ที่นี่
การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจหรือการผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจคือการผ่าตัดนำหัวใจใหม่ใส่แทนที่หัวใจหัวใจเดิมของผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจอาจฟังดูน่ากลัว แต่ทำไมถึงต้องเปลี่ยนหัวใจ เปลี่ยนแล้วจะมีความเสี่ยงอะไรบ้าง ผลลัพธ์การรักษาเป็นอย่างไร ติดตามรายละเอียดได้ที่นี่
โรคไตในระยะแรกๆ นั้นมักไม่แสดงอาการ แต่ถ้าระยะหลังๆ ใกล้ระยะสุดท้ายของไตวายผู้ป่วยมักมีอาการปัสสาวะบ่อย บวม เหนื่อย หอบ อ่อนเพลีย นอนราบไม่ได้ และเบื่ออาหาร หากมีโรคอื่นๆ ร่วมด้วยจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีความกังวลมากขึ้น การผ่าตัดปลูกถ่ายไตเป็นอีกหนึ่งวิธีที่สามารถช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ได้ขึ้น