You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
ข้อเท้าแพลง เป็นการบาดเจ็บที่พบบ่อยทั้งในนักกีฬาและบุคคลทั่วไป ทำให้เกิดการบาดเจ็บของเอ็นด้านข้างข้อเท้าด้านนอก (lateral ligaments) และมีอาการปวดบวมบริเวณเส้นเอ็นที่บาดเจ็บหรือลงน้ำหนักที่ข้อเท้าไม่ได้
โดย น.ต.นพ. ปองพล เพ็ชร์คำ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ และการผ่าตัดเท้าและข้อเท้า
โดย นพ.สุรชัย รัตนเสรีเกียรติ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ, การผ่าตัดมือ
โดย น.พ. ตุลพงษ์ อ่ำพูล แพทย์ผู้ชำนาญการศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ และการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม
เมื่อข้อสะโพกเสื่อมจึงถือเป็นเรื่องใหญ่เพราะส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันเพราะข้อสะโพกเสื่อมทำให้สะโพกติดขัด
โรคกระดูกสันหลังคด เป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยทั่วไปส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ
สาเหตุของโรคขาโก่งในเด็กกับแนวทางการรักษา
โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบหรือรองช้ำ คือภาวะที่มีการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าหรือ plantar fascia ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการเจ็บส้นเท้าที่พบบ่อยที่สุด โดยมากมักเกิดการอักเสบบริเวณที่พังผืดยึดเกาะกับกระดูกส้นเท้า ลักษณะสำคัญของภาวะนี้คือมีอาการปวดที่ส้นเท้าหรือฝ่าเท้า โดยจะปวดมากที่สุดเมื่อลงจากเตียงในตอนเช้าหรือหลังจากนั่งนานๆและอาการทุเลาลงเมื่อเดินไปสักพักหรือหลังทำการยืดเหยียดฝ่าเท้า โดยทั่วไปรองช้ำเป็นโรคที่สามารถหายได้เองแม้ไม่ได้ทำการรักษาใดใด แต่การได้รับการรักษาที่เหมาะสมจะทำให้หายได้เร็วขึ้นและการดูแลฝ่าเท้าอย่างถูกวิธีจะทำให้อัตราการกลับเป็นซ้ำน้อยลง
ในอดีตการผ่าตัดกระดูกสันหลังอย่างเป็นรูปแบบได้มีการบันทักและเริ่มเมื่อประมาณต้นปี ค.ศ. 1900 ซึ่งเกิดตามมาหลังจากการมีการใช้ยาดมสลบ มีเครื่อง x-ray และมียาฆ่าเชื้อที่ดีขึ้น การผ่าตัดหมอนรองกระดูกสันหลังเริ่มมีการทำครั้งแรกในปี 1932 มีการใช้เครื่องตรวจเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ครั้งแรกเมื่อปี 1977 ซึ่งสามารถศึกษาถึงโครงสร้างภายในกระดูกสันหลัง รวมถึง เส้นประสาท และไขสันหลัง การผ่าตัดในอดีตมีความแตกต่างจากปัจจุบันอย่างมาก