bih.button.backtotop.text

Medical Travel

Welcome Package
Layout-GHA-Welcome-VirtualBook-Banner_GHA-1200x255.png

Welcome to Bumrungrad International, where your experience matters most. Enhance your journey with our virtual book. Explore our premium services and discover helpful information tailored just for you.

 

ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ประกาศยุติสถานการณ์ฉุกเฉินโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั่วประเทศ (30 กันยายน 2565)

ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2566 เป็นต้นไป ทางการไทย ไม่มีการตรวจ เอกสารรับวัคซีนโควิด-19, ประกันสุขภาพ หรือผลตรวจ RT-PCR สำหรับผู้เดินทางเข้าประเทศไทย
 

medical.jpg

Safety and Security

The Kingdom of Thailand continue to attract thousands of tourists and new residents from around the world, all drawn to its diverse landscapes, world-famous cuisine, and ancient culture. Although tourists and residents of Thailand can enjoy relative calm and safety throughout their time in the Kingdom, it’s important to be aware of the current realities facing Thailand.

Political Situation in Thailand

The government structure of Thailand is known as a Constitutional Monarchy, currently under King Maha Vajiralongkorn, who ascended the throne in December 2016 following the October 2016 passing of King Bhumibol Adulyadej.

Since 2005, Thailand has experienced many instances of political turmoil which include a military coup d’état in 2006 that resulted in the removal of then-Prime Minister Thaksin Chinawat, followed by anti-government protests and conflicts between competing political factions for several years. In August 2014, Royal Thai Army General Prayut Chan-ocha was appointed Prime Minister, following another coup d’état a few months before.

Today, the political situation in most of Thailand is relatively calm, with the new constitution having been signed in April 2017. However, the Southern region of the country continues to experience unrest and violence due to ethnic and nationalist insurgents. Officials continue to advise tourists and residents to exercise caution when traveling to these areas, and to always stay informed of the current political climate.

Thailand has a healthy and fairly consistent system of information and journalism, where the most current political events and realities are covered both in English and Thai. One such outlet is. Read More

Safety in Thailand: Road Travel

Traveling within Thailand is relatively simple with buses, trains, planes, and boats making it possible to reach nearly all areas of the country rather easily. Within the city of Bangkok taxis, motorcycles, cars, and an extensive subway system connects the entire city. For those who choose to drive in Thailand, there are some important points to consider regarding the laws and regulations that govern driving in Thailand. The website Driving in Thailand provides comprehensive information on the rules, regulations, and expectations that come along with driving in Thailand.

มาตรการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

  • 5 สิ่งที่ต้องทำเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อ
    • ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจล
    • พบแพทย์ เมื่อมีอาการหวัด มีน้ำมูก มีไข้ ไอ จาม
    • ใส่หน้ากากอนามัย เมื่อมีอาการไอหรือจาม
    • เมื่อคุณมีความเสี่ยงหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้อื่นอย่างใกล้ชิด
    • แนะนำเพื่อและญาติมิตรที่มีความเสี่ยงว่าไม่ควรออกพบปะผู้อื่น
  • Make sure you choose a face mask that meets your needs.
AW-MEDICAL-MASK_EN_1040X1040-(1).jpg
 
 

ข้อปฏิบัติสำหรับผู้เข้ารับบริการในโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

Guidelines.png
  • สิ่งสำคัญที่สุดของโรงพยาบาลคือการดูแลสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยที่สุดให้กับทุกคน จึงแนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาขณะอยู่ในโรงพยาบาล ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
 
How-to-wear-mask-Correctly_1040x1040_TH-2.jpg
 
  • ข้อปฏิบัติในการเยี่ยม เพื่อให้การบริบาลผู้ป่วยของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีความปลอดภัยสูงสุดสำหรับทุกคน ทั้งตัวผู้ป่วย และผู้มาเยี่ยม ตลอดจนบุคลากรของโรงพยาบาล ทางโรงพยาบาลมีข้อปฏิบัติในการเยี่ยม ดังนี้
     


 

Standee.jpg
รายงานสถานการณ์ “ข่าวโรคติดต่อที่ควรเฝ้าระวัง” ในประเทศไทยและระดับโลก
 
  • ประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง การป้องกันโรคและภัยสุขภาพที่เกิดขึ้นในช่วงฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. 2567
    (อ่านเพิ่มเติม Click link) Update 1 Nov 2024
  • กรมควบคุมโรค เตือนโรคระบาดต่างแดน ที่ไทยยังต้องเฝ้าระวัง 
    (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link) Update 9 Oct 2024
  •  โควิด19 คนไข้หนักเริ่มลดลง! คร.ยังเตือน “ไข้เลือดออก” ป่วยตายสูง และอีกหลายโรคต้องระวัง
    (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link) Update 8 Oct 2024
  • กรมควบคุมโรค ติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไม่ทราบชนิดในอัฟกานิสถานอย่างใกล้ชิด พร้อมเน้นย้ำไทยมีมาตรการเฝ้าระวังคัดกรองโรคติดต่ออย่างเคร่งครัด
    (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link) Update 11 Oct 2024
  • เตือนหญิงตั้งครรภ์ !! ระวังยุงลายกัด เสี่ยงติดเชื้อไวรัสซิกา ทารกเสี่ยงพัฒนาการช้า
    (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link) Update 11 Oct 2024
 

SARS-CoV-2 หรือ โควิด 19 (Covid-19)


ในประเทศไทย
 
  • สธ.ชี้หน้าฝน โควิด-ไข้หวัดใหญ่ ระบาด ผู้สูงอายุป่วยหนักเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน กรมควบคุมโรค เผยสถานการณ์โควิด 19 พบผู้ป่วยรักษาตัวในโรงพยาบาล เฉลี่ยวันละ 465 ราย ผู้ป่วยปอดอักเสบ 709 ราย ใส่ท่อช่วยหายใจ 336 ราย และเสียชีวิต 16 ราย เตือน! กลุ่มเสี่ยง 608 ผู้สูงอายุป่วยหนักเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน
    จึงขอแนะนำประชาชนที่มีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ ควรตรวจหาเชื้อเบื้องต้นด้วย ATK หากพบผลติดเชื้อ (ขึ้น 2 ขีด) ควรสวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ แยกตัว ไม่ใกล้ชิดกับผู้อื่นและรีบพบแพทย์ โดยเฉพาะในกลุ่ม 608 เนื่องจากหากกลุ่มดังกล่าวติดเชื้ออาจมีอาการรุนแรงและเสียชีวิตได้ (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link ) Update 12 July 2024
  • กรมควบคุมโรค เผยแนวโน้มผู้เสียชีวิตโควิด พบส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม 608 โดยเฉพาะผู้สูงอายุ แนะรักษามาตรการส่วนบุคคลเคร่งครัด กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์โรคโควิด 19 รายสัปดาห์ ยังคงพบรายงานผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ยังไม่เกินความสามารถของระบบการรักษาพยาบาล ห่วงกลุ่มเสี่ยง 608 โดยเฉพาะผู้สูงอายุป่วยหนักเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน แนะทุกคนปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 อย่างเคร่งครัด หากจำเป็นต้องเข้าไปในพื้นที่ที่มีคนหมู่มากหรือแออัดควรสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา และล้างมือบ่อยๆ หากมีอาการป่วยให้รีบไปพบแพทย์ (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link ) Update 3 July 2024
  • สถานการณ์ผู้ป่วย COVID-19 ภายในประเทศไทย (ข้อมูลรายสัปดาห์) (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link ) Update 4 August 2024

ระดับโลก
 
  • New Covid variant FLiRT: เราควรกังวลหรือไม่? รู้อาการ ข้อควรระวัง FLiRT ซึ่งเป็นกลุ่มของเชื้อ Covid-19 สายพันธุ์ใหม่ในสายเลือด Omicron JN.1 กำลังแพร่กระจายอย่างรวดเร็วในสหรัฐอเมริกา สายพันธุ์เช่น KP.2 และ KP 1.1 ติดต่อได้ง่ายกว่า แต่มีอาการคล้ายกับสายพันธุ์ Omicron อื่นๆ KP.2 แซงหน้า JN.1 แล้ว โดยมีรายงานการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลต่ำ อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link :   (update 5 May 2024)
  • Coronavirus disease (COVID-19) Weekly Epidemiological Updates and Monthly Operational Updates (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link ) Update 17 May 2024

ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) and ไข้หวัดนก (Avian Flu (Bird Flu)


ในประเทศไทย
 
 
  • พบผู้ป่วยโรคติดเชื้อไข้หวัดนก ตั้งแต่ปี 2546-2547 และไม่พบการติดเชื้อตั้งแต่ปี 2549
  • กรมวิทย์ฯ เผยไทยพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด A (H1N1) มากสุด พร้อมเฝ้าระวังการกลายพันธุ์
  • สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ไทยพบชนิด A  (H1N1) มากสุด 41.25% รองลงมา H3N2 32.24% กรมวิทย์ฯ ยืนยันเชื้อดื้อยายังเกิดขึ้นได้ไม่บ่อย พร้อมเฝ้าระวังการกลายพันธุ์ แนะฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ทุกปี ช่วยป้องกันสายพันธุ์ของเชื้อที่พบในประเทศได้เป็นอย่างดี (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link ) Update 21 Oct 2024
  • เด็กเล็ก-นักเรียน ติดไข้หวัดใหญ่เพิ่ม แนะสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ร่วมกัน ย้ำ!! 7 กลุ่มเสี่ยงฉีดวัคซีน
  • ช่วงนี้โรคไข้หวัดใหญ่มีแนวโน้มสูงขึ้น ส่วนใหญ่เป็นเด็กเล็กมากสุด แต่ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่กลับเป็นผู้สูงอายุ รวมถึงผู้ใหญ่ที่มีโรคประจำตัวและไม่รับวัคซีน ขอให้หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีผู้คนแออัด หรือสวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกัน ล้างมือบ่อยๆ พร้อมแนะนำ 7 กลุ่มเสี่ยง คือ หญิงตั้งครรภ์ (อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป) เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน ผู้มีโรคเรื้อรัง (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน) ผู้ที่อายุ 65 ปีขึ้นไป โรคธาลัสซีเมีย และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) โรคอ้วน และผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ให้ไปรับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ปีละ 1 ครั้ง
    (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link) Update 2 Oct 2024
  • ฝนนี้ระวัง!! ติดไข้หวัดใหญ่ แนะ 7 กลุ่มเสี่ยงฉีดวัคซีนป้องกัน ช่วงหน้าฝนนี้ เตือนประชาชนระวังป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ ขอให้ป้องกันตนเองด้วยการล้างมือบ่อยๆ หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีผู้คนแออัด หรือสวมหน้ากากอนามัยหากจำเป็นต้องเข้าไป พร้อมแนะนำ 7 กลุ่มเสี่ยง คือ หญิงตั้งครรภ์ (อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป) เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน ผู้มีโรคเรื้อรัง (ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน) ผู้ที่อายุ 65 ปีขึ้นไป โรคธาลัสซีเมีย และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) โรคอ้วน และผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ให้ไปรับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ปีละ 1 ครั้ง (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link ) Update 2 Aug2024
  • สสจ.สระแก้ว เข้มเฝ้าระวัง “ไข้หวัดนก” ในคนและสัตว์ หลังกัมพูชาพบผู้ป่วยรายที่ ปลัด สธ. เผย สสจ.สระแก้ว ประสานหน่วยงานพื้นที่ร่วมเฝ้าระวังเข้มในคนและสัตว์ หลังกัมพูชาพบผู้ป่วยไข้หวัดนกรายที่ 7 เป็นเด็กหญิงอายุ 5 ปี พี่ของผู้ป่วยเด็กชายรายที่ 6 ทั้ง 2 รายมีประวัติสัมผัสไก่ที่ป่วยตายในหมู่บ้านและนำมาปรุงอาหาร ย้ำประชาชนหลีกเลี่ยงการสัมผัสสัตว์ปีกป่วย/ตาย และไม่นำมาปรุงอาหาร (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link ) Update 12 July 2024
  • กรมควบคุมโรค เผยกรณีพบผู้ป่วย 2 รายติดไข้หวัดนก H5N1 ในสหรัฐจากโคนม แม้พบยาก แต่เป็นกรณีแรกที่มีแนวโน้มว่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสามารถแพร่เชื้อไปยังคนได้ ขณะนี้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link ) Update 31 May 2024
  • สถานการณ์ไข้หวัดใหญ่และเชื้อสาเหตุโรคติดเชื้อทางเดินหายใจในประเทศไทย (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link ) Update 2 August 2024

ระดับโลก
 
 
ประเทศที่เกิดการระบาดล่าสุด :
  • ไข้หวัดนก A (H9N2) – กานา เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2024  สาธารณสุขของกานาแจ้งให้ WHO ทราบถึงการยืนยันการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนก A (H9N2) นี่นับเป็นการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดจากสัตว์สู่คนครั้งแรกที่มีรายงานจากกานาถึง WHO โดยผู้ป่วยเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี อาศัยอยู่ในภูมิภาค Upper East region ซึ่งตั้งอยู่บริเวณชายแดนติดกับ Burkina Faso (Read more details Click link ) Update 20 September 2024
  • ไวรัสสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ A(H1N1) – เวียดนาม เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2024 ศูนย์ประสานงานแห่งชาติของเวียดนาม (NFP) ได้แจ้งให้องค์การอนามัยโลก (WHO) ทราบถึงกรณีผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันจากห้องปฏิบัติการ ว่ามีการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ A (H1N1) ผู้ป่วยรายนี้เป็นผู้หญิงอายุ 70 ​​ปี ที่มีโรคประจำตัว มาจากจังหวัดเซินลา จังหวัดทางตอนเหนือของภูเขาในเวียดนาม ติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว Read more details Click link  (Update 4 September 2024)
  • ไข้หวัดนกชนิด A (H5N1) - กัมพูชา
  • เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2567 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับแจ้งจากหน่วยงานกำกับดูแลด้านสุขภาพระหว่างประเทศ (IHR) National Focal Point (NFP) ของประเทศกัมพูชา พบเด็กอายุ 15 ปี
    ติดเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ A (H5N1)  ในราชอาณาจักรกัมพูชา กรณีนี้เป็นหนึ่งใน 10 กรณีที่มีรายงานในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2567 จากข้อมูลของ IHR (2548) การติดเชื้อในมนุษย์ที่เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดนกชนิด A ชนิดย่อยเป็นเหตุการณ์ที่มีโอกาสแพร่ระบาดสู่สาธารณะในระดับสูง ผลกระทบต่อสุขภาพและต้องแจ้งให้ WHO ทราบ จากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน WHO ประเมินความเสี่ยงในปัจจุบันต่อประชากรทั่วไปที่เกิดจากไวรัสนี้ในระดับต่ำ
    Read more details Click link:  (Update 6 September 2024)

โรคไข้เลือดออก


ในประเทศไทย
 
  • เตือนภัย!! อีกหนึ่งโรคที่มาจากยุงลาย โรคไข้ปวดข้อยุงลาย หรือ ชิคุนกุนยา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย หรือโรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดเชื้อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มีอาการคล้าย โรคไข้เลือดออก แต่ต่างกันที่อาการของผู้ป่วยจะไม่รุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต โรคนี้ยังไม่มียารักษา แต่เป็นการรักษาตามอาการ ไม่ควรซื้อยาลดไข้ในกลุ่มแอสไพริน ไอบูโพรเฟน และไดโคลฟีแนคมารับประทาน ในการป้องกันโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ใช้หลักการเดียวกันกับโรคไข้เลือดออก คือ เก็บบ้าน เก็บขยะ และเก็บน้ำ จะช่วยป้องกัน 3 โรคได้ในคราวเดียวกัน ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link) Update 24 October 2024
  • โควิด19 คนไข้หนักเริ่มลดลง! คร.ยังเตือน “ไข้เลือดออก” ป่วยตายสูง และอีกหลายโรคต้องระวัง กรมควบคุมโรค เผย“โควิด19” ภาพรวมคนไข้หนักลดลง ไข้หวัดใหญ่ติดเชื้อเกือบ 5.5 แสนคน ส่วนไวรัส RSV เสียชีวิต 7 รายยังต้องเฝ้าระวังต่อเนื่อง ต้องย้ำเตือน “โรคไข้เลือดออก” ป่วยสะสมปี 67 รวม 84,434 ราย พบมากสุดในกลุ่มเด็กนักเรียน มีผู้เสียชีวิต 84 ราย เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ และมีโรคประจำตัว ส่วนฝีดาษวานร อัตราป่วยต่ำกว่าปีที่ผ่านมา ยังเตือน “บุหรี่ไฟฟ้า” อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link )Update 11 October 2024
  • เตือนหญิงตั้งครรภ์ !! ระวังยุงลายกัด เสี่ยงติดเชื้อไวรัสซิกา ทารกเสี่ยงพัฒนาการช้า (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link) Update 11 Oct 2024
  • เน้นมาตรการ “4 เน้น 4 เดือน” ตั้งแต่เดือน มิ.ย. ถึง ก.ย.2567 หวังลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แนะทายากันยุง อย่าซื้อยากินเอง ช่วงนี้เป็นช่วงหน้าฝน ฝนที่ตกลงมาอย่างต่อเนื่องทำให้สถานการณ์โรคไข้เลือดออกเพิ่มสูงขึ้น กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดมาตรการ “4 เน้น 4 เดือน” ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงกันยายน ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝน เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยในช่วงดังกล่าวให้ต่ำกว่าค่าคาดการณ์ 30% หรือต่ำกว่า 100,000 ราย และขอให้ชุมชนร่วมมือกันสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย หากป่วยเป็นไข้เลือดออกควรไปพบแพทย์อย่าซื้อยามากินเอง ร้านขายยาไม่ควรจ่ายยาในกลุ่ม NSAIDs ให้แก่ผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้กับโรคไข้เลือดออก เพราะระคายเคืองกระเพาะอาหาร และทำให้เกล็ดเลือดไม่แข็งตัวอาจทำให้เลือดออกมากขึ้น (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link )Update 6 Aug 2024
  •  ระวัง!! โรคไข้เลือดออก กรมควบคุมโรคเตือนโรคไข้เลือดออก มีแนวโน้มพบผู้ป่วยเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีฝนตกในหลายพื้นที่ทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงขอเน้นย้ำมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค หากมีอาการป่วยไม่ซื้อยาลดไข้ในกลุ่มเอ็นเสด (NSAID) เช่น ไอบูโพรเฟน ไดโคลฟีแนค แอสไพริน รวมถึงยาชุด มารับประทานเอง ควรรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว เพื่อรับการตรวจและรักษาที่ถูกต้อง ป้องกันอาการป่วยรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link )Update 24 July 2024
  • สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link ) Update 2 August 2024

ระดับโลก
 
 
  • ไข้เลือดออก – อิหร่าน รายงานกรณีไข้เลือดครั้งแรกในอิหร่าน ที่ได้รับยืนยันพบการแพร่เชื้อไข้เลือดออกในท้องถิ่นของประเทศซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ปกติ  Read more details click link  (Update 2 August 2024)
  •  ไข้เลือดออกระบาดหนัก ริโอ เด จาเนโร ประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ บราซิลกำลังเผชิญการระบาดอย่างหนักของโรคไข้เลือดออก โดยริโอ เด จาเนโร เป็นพื้นที่ล่าสุดที่ประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ หลังจากมีผู้ป่วยนับหมื่นราย (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม)

ฝีดาษวานร


ในประเทศไทย
 
  • UK พบผู้ติดเชื้อฝีดาษลิงสายพันธุ์ใหม่ รายแรกของประเทศ สหราชอาณาจักรพบผู้ติดเชื้อฝีดาษลิงสายพันธุ์ใหม่ รายแรกของประเทศ โดยเป็นผู้ที่เพิ่งเดินทางกลับจากแอฟริกา และตอนนี้กำลังอยู่ระหว่างรักษาตัว แต่ยืนยันว่า ความเสียงต่อประชากรคนอื่นๆ ยังอยู่ในระดับต่ำ (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link ) Update 31 Oct 2024
  • Britain Identifies Its First Case of New Mpox Variant (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link) Update 30 Oct 2024
  • กรมควบคุมโรคเผย “ฝีดาษวานร เคลด 1 บี” ผู้ป่วยต่างชาติรายแรกในไทย จบวงจร! ออกจากรพ.แล้ว ส่วนผู้สัมผัสใกล้ชิดไม่พบเชื้อ หลังติดตามครบกำหนด 21 วัน ด้านคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคประชุมแนวทางใช้วัคซีน Mpox  วันที่ 6 ก.ย.67 (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link) Update 6 Sep 2024
  • กรมควบคุมโรค ติดตามสถานการณ์โรคฝีดาษวานรทั่วโลกอย่างใกล้ชิด  พร้อมเพิ่มมาตรการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาด ที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ทุกด่าน โดยเฉพาะด่านท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ดอนเมือง อู่ตะเภา โดยเฉพาะผู้ที่เดินทางจากทวีปแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันออก
    ประเทศไทย ตั้งแต่ต้นปีจนถึงปัจจุบัน พบผู้ป่วยโรคฝีดาษวานร 140 ราย และเป็นสายพันธุ์ Mpox clade 2 ซึ่งเป็นคนละสายพันธุ์กับในทวีปแอฟริกา แต่อย่างไร มีมาตรการในการเฝ้าระวังสายพันธุ์ต่างๆในประเทศไทยอยู่แล้ว
    (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link ) Update 16 Aug 2024
  • ไทยสั่งเข้มเฝ้าระวัง “ฝีดาษวานร” หลังองค์การอนามัยโลก ประกาศฉุกเฉินสาธารณสุขระดับโลก (อ่านข่าวเพิ่มเติม Click link  ) Update 16 Aug 2024
  • ไทยยังไม่พบ ‘ฝีดาษวานร’ สายพันธุ์ใหม่ ขณะที่ผู้ป่วยสะสม 822 ราย “กทม.” มากสุด กรมควบคุมโรคเผยไทยเฝ้าระวัง ยังไม่พบฝีดาษวานรสายพันธุ์รุนแรงเชื่อมโยงแอฟริกากลาง ยืนยันไม่ใช่ สายพันธุ์ใหม่ ขณะที่ผู้ป่วยสะสม 822 ราย ไม่มีรายงานเสียชีวิต เผย 10 จังหวัดติดเชื้อสูงสุด เตือนสังเกต อาการเร่งพบแพทย์ (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link ) Update 7 Aug 2024
  • รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อฝีดาษวานร (Mpox) ในประเทศไทย (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link  Update 9 Aug 2024)

ระดับโลก
 
  • Mpox – แอฟริกาใต้ หน่วยประสานงานด้านสุขภาพระหว่างประเทศ (IHR) National Focal Point (NFP) ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้แจ้งให้ WHO ทราบถึงผู้ป่วย Mpox ได้รับการยืนยัน 20 ราย ระหว่างวันที่ 8 พฤษภาคม ถึง 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 3 ราย (อัตราส่วนการเสียชีวิต (CFR) ที่ 15%) เหตุการณ์นี้แสดงให้เห็นว่าการระบาดของ mpox ทั่วโลกเชื่อมโยงกับไวรัส clade IIb Monkey pox (MPXV) ซึ่งยังคงดำเนินอยู่ และมีความเสี่ยงของการแพร่กระจายข้ามพรมแดน รวมถึงระหว่างประเทศ ทั่วทุกภูมิภาคของโลก Read more details click link  (Update 12 July 2024)
  •  รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อฝีดาษวานร (Mpox) ระดับโลก (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link)

โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East respiratory syndrome coronavirus (MERS-CoV) หรือ ไข้หวัดอูฐ (Camel Flu)


ในประเทศไทย
 
 
  • วันที่ 15 มิถุนายน 2558 พบผู้ป่วยที่ตรวจพบเชื้อ MERS-CoV 1 ราย เป็นผู้ป่วยชาวต่างชาติที่เดินทางมาในไทยเพื่อเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ปัจจุบันไม่พบการรายงานผู้ป่วยเพิ่มเติม (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click link)

ระดับโลก
 

ประเทศที่เกิดการระบาด :
  • ซาอุดีอาระเบีย (Update 2 Oct 2024) องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับแจ้งกรณีพบผู้ติดเชื้อ MERS-CoV  1 รายเมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2567 จากกระทรวงสาธารณสุขแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (KSA) ผู้ป่วยรายนี้เป็นชายจากภาคตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย ไม่มีประจำตัว เขาไม่มีประวัติสัมผัสกับอูฐและไม่ใช่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตั้งแต่ต้นปี มีรายงานผู้ป่วย 5 ราย มีผู้เสียชีวิต 4 ราย

ไวรัสมาร์เบิร์ก (Marburg virus disease)


ในประเทศไทย
 
 
  • ติดตามสถานการณ์ยังไม่พบการรายงานในประเทศไทย
  • เน้นมาตรการคัดกรองผู้เดินทางจากประเทศอิเควทอเรียลกินี และประเทศใกล้เคียง (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click)

ระดับโลก
 
 
  • ประเทศที่เกิดการระบาด : สาธารณรัฐอิเควทอเรียลกินี (Update 9 มิถุนายน 2566)
  • ไม่มีรายงานผู้ติดเชื้อรายใหม่ กระทรวงสาธารณสุขประเทศอิเควทอเรียลกินีได้ประกาศยุติการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส Marburg (MVD)ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Click)

โรคติดต่ออื่นๆ


ในประเทศไทย
 
  • เตือนประชาชน ระวังโรคและภัยสุขภาพที่มากับน้ำท่วม เนื่องจากในช่วงนี้หลายพื้นที่ฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องส่งผลให้เกิดน้ำท่วม แนะวิธีดูแลตนเอง ป้องกันการเจ็บป่วยจากกลุ่มโรคที่มากับน้ำท่วม ได้แก่ กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ (โรคไข้หวัดใหญ่, โรคปอดบวม) กลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (โรคอาหารเป็นพิษ, โรคอุจจาระร่วง) กลุ่มโรคติดเชื้อ (โรคไข้ฉี่หนู, น้ำกัดเท้า, โรคตาแดง) กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง (โรคไข้เลือดออก) รวมถึงภัยสุขภาพที่ไม่ควรประมาท ได้แก่ การจมน้ำ ไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าช็อต แมลงสัตว์มีพิษกัดต่อย ที่มักเกิดช่วงน้ำท่วม ( อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม  Update 2 Oct 2024)
  • ห่วงเด็กป่วย “โรคไอกรน” แนะผู้ปกครองพาไปฉีดวัคซีน กรมควบคุมโรค เตือนเด็กเล็กเสี่ยงป่วยโรคไอกรน ย้ำผู้ปกครองพาบุตรหลาน ไปรับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด หากมีอาการไข้ต่ำ ๆ มีน้ำมูก ไอผิดปกติ ไอเป็นชุด ๆ ติดต่อกัน 5 - 10 ครั้ง หรือมากกว่านั้น จนทำให้หายใจไม่ทัน หายใจมีเสียงดังวู๊ป ให้รีบไปพบแพทย์ ( อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Update 19 Sep 2024)
  • กรมควบคุมโรค แนะประชาชน “กินสุก-ร้อน-สะอาด” ป้องกันการติดเชื้อ “ไวรัสโนโร”
  • กรมควบคุมโรค แนะประชาชน “กินร้อน-ช้อนกลาง-ล้างมือ-ดื่มน้ำสะอาด” ป้องกันโรคติดต่อจากอาหารและน้ำจากเชื้อ “ไวรัสโนโร” (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Update 12 Sep 2024)
  • กรมควบคุมโรค เตือนโรคหน้าฝน ยังต้องระวัง “โควิด19- ไข้หวัดใหญ่- เชื้อ RSV”  รวมถึง
  • ไข้เลือดออก และโรค มือ เท้า ปาก  ขณะที่โรคจากน้ำท่วม ทั้ง “ไข้ดิน-ฉี่หนู” ยังพบผู้ป่วยเรื่อยๆ แพทย์ยังย้ำหญิงตั้งครรภ์ต้องระวัง แนะป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม: Update 16 Aug 2024)
  • DDC WATCH จับตาโรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนตุลาคม 2567
  • โรคเลปโตสไปโรสิส (โรคฉี่หนู) (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม:  Update 3 Oct 2024)
  • DDC WATCH จับตาโรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2567 โรคไข้รากสาดใหญ่  หรือ สครับไทฟัส (Scrub Typhus) อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม (Update 1 Nov 2024)

ระดับโลก
 
  • โรคไวรัสมาร์บูร์ก – ประเทศรวันดา วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2567 มีรายงานผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันไวรัสมาร์บูร์ก แล้วทั้งหมด 26 ราย และมีผู้เสียชีวิต 8 ราย กรณีดังกล่าวได้รับรายงานจาก 7 เขตจาก 30 อำเภอในประเทศ ในบรรดาผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยัน มากกว่า 70% เป็นคนทำงานด้านการแพทย์จากสถานพยาบาลสองแห่งใน Kigali อยู่ระหว่าง การติดตามผู้สัมผัส โดยมีผู้สัมผัสทั้งหมด 300 ราย นี่เป็นครั้งแรกที่มีการรายงานโรคไวรัสมาร์บูร์กในรวันดา Read more details Click link   (Update 30 Sep 2024)
  • โรคหัดและการระบาด รายงานผู้ป่วยโรคหัดปี 2567 ณ วันที่ 26 เมษายน 2024 มีการทั้งหมด 128 ราย ในสหรัฐอเมริกาทั้งหมด 20 เขต ได้แก่ แอริโซนา แคลิฟอร์เนีย ฟลอริดา จอร์เจีย อิลลินอยส์ อินเดียนา ลุยเซียนา แมริแลนด์ มิชิแกน มินนิโซตา มิสซูรี นิวเจอร์ซีย์ นิวยอร์กซิตี้ นิวยอร์ก รัฐ โอไฮโอ เพนซิลเวเนีย เวอร์มอนต์ เวอร์จิเนีย วอชิงตัน และเวสต์เวอร์จิเนีย รายละเอียดเพิ่มเติม Click link (Update 3 May 2024)
 

มาตรการดำเนินการการป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
    

เพื่อเตรียมความพร้อมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ ทางแผนกควบคุมโรคติดเชื้อ จึงขอทบทวนและเน้นย้ำมาตรการเพื่อประสิทธิภาพในการป้องกันและลดความเสี่ยงการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล ดังนี้
  1. มาตรการคัดกรองผู้ป่วยเรื่องโรคติดต่อ
  2. การทำความสะอาดพื้นที่ Public และจุดสัมผัสร่วมต่าง ๆ : ดำเนินการเพิ่มรอบการทำความสะอาดเป็นทุก 1 ชั่วโมง
  3. กรณีพบผู้รับบริการไม่สวมหน้ากากอนามัยขอความร่วมมือให้ผู้มารับบริการทุกท่านสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาล
  4. แผนกควบคุมโรคติดเชื้อจะดำเนินการติดตามสถานการณ์โรคติดต่อระดับสากล และระดับประเทศและสื่อสารให้กับผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างน้อยทุกสัปดาห์
  5. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์มีการฝึกซ้อมแผนการรับมือกับโรคระบาดเป็นประจำทุกปี
    1. ปี 2022 : ซ้อมการรับมือกับโรคฝีดาษวานร
    2. ปี 2023 : ซ้อมการรับมือกับผู้ป่วยหายใจเหนื่อยหอบมีภาวะปอดอักเสบโดยไม่ทราบสาเหตุ Unknown pneumonia สงสัย MERS ร่วมกับการซ้อมอุบัติภัย

อ้างอิงข้อมูลจาก : องค์การอนามัยโลก และ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข
 

Entry Requirements

Prior to confirming your appointment at Bumrungrad International Hospital, you should consider the entry requirements of Thailand. You may need to get vaccinated or apply for a visa in order to enter the Kingdom of Thailand. 

Health and Vaccinations

As with traveling to most other countries, health authorities advise all travelers to always make sure that they’re up to date on all their vaccinations before the trip. Every traveler needs to be up to date on their routine vaccinations, which are: thediphtheria-tetanus-pertussis vaccine, the chickenpox vaccine, the polio vaccine, the measles-mumps-rubella (MMR) vaccine, and your regular flu vaccine.

Additionally, please see the table below for more specific vaccine recommendations that may apply to specific people before entering Thailand.

Vaccine

Who Needs It?

Why?

Japanese Encephalitis

Some travelers who may be staying in Thailand for a long time, or planning to travel around the country

There have been reports of transmissions in Northern Thailand, as well as the coastal areas of Southern Thailand.

Typhoid

Most travelers , especially those planning to travel to rural areas or are adventurous eaters

There is a risk of contamination through food or water.

Hepatitis A

Most travelers.

There is a high risk of contamination through food or water.

Rabies

Some travelers , especially those who will come into contact with a lot of animals

Although rabies is not a major risk in Thailand, it can be found in some animals, especially street dogs and cats.

Hepatitis B

Some travelers , especially those who plan to get tattoos or piercings while traveling in Thailand

Hepatitis B is transmitted through sexual contact, as well as through contaminated needles and other blood products.

Cholera

Some travelers

There is a risk for contamination through food or water, especially in areas where there is an active transmission.

Yellow Fever

Only people who are traveling from countries with a risk of yellow fever contamination.

There is no risk of yellow fever contamination in Thailand. However, the government of Thailand requires proof of vaccination against yellow fever from all travelers who are coming from countries that have a risk of contamination. To determine if you are one of these travelers, please see this list from the Centers for Disease Control and Prevention

 

Malaria: When traveling in Thailand, you should avoid mosquito bites to prevent malaria. You may need to take prescription medicine before, during, and after your trip to prevent malaria, depending on your travel plans, such as where you are going, when you are traveling, and if you are spending a lot of time outdoors or sleeping outside. Talk to your doctor about how you can prevent malaria while traveling. Areas of Thailand with risk of malaria: Primarily in provinces that border Burma (Myanmar), Cambodia, and Laos and the provinces of Kalasin, Krabi (Plai Phraya district), Nakhon Si Thammarat, Narathiwat, Pattani, Phang Nga (including Phang Nga City), Rayong, Sakon Nakhon, Songkhla, Surat Thani, and Yala, especially the rural forest and forest fringe areas of these provinces. Rare to few cases in other parts of Thailand, including other parts of Krabi Province and the cities of Bangkok, Chiang Mai, Chiang Rai, Koh Phangan, Koh Samui, and Phuket.

None in the islands of Krabi Province (Koh Phi Phi, Koh Yao Noi, Koh Yao Yai, and Ko Lanta) and Pattaya City. See more detailed information about malaria in Thailand.

Generally, a foreign citizen who wishes to enter the Kingdom of Thailand is required to obtain a visa from a Royal Thai Embassy or a Royal Thai Consulate-General. However, nationals of certain countries do not require a visa if they meet visa exemption requirements as follows
  1. Nationals of countries which are exempted from visa requirements
  2. Nationals of countries which hold bilateral agreements with Thailand on the exemption of visa requirements
For more information please visit  Thai Embassy and Consulates 
 

New process for applying visa to Thailand

For nationals of certain countries are required to apply for a visa only, the E-Visa applicants do not need to submit their passport and original supporting documents in person at a Royal Thai Embassy or Consulate. People will receive a reference number by email to monitor their application.
 
After the e-Visa application has been approved, a confirmation email is sent to applicants. It is best to print a copy of the confirmation email when you are ready to travel. This will be presented to airlines and Thai Immigration officials when traveling to Thailand.
 
For more information about e-visa please visit https://thaievisa.go.th/
 
visa.gif

Thai Custom: Guidelines for Airport Passengers click here
 

Travel Advice and Support

Once you’ve decided to travel to Bangkok, you may want to learn more about Thailand and how you can make the most out of your trip. The best place to start your research would be the Tourism Authority of Thailand’s website, which covers a wide range of topics such as:

Travel Checklist

Once your appointment at Bumrungrad International Hospital has been confirmed, our medical travel team will send you a packet of important information you need to know before traveling. To help you better prepare your medical travel itinerary, please take a look at this travel checklist.
 

Section I: Traveling by Air

- In general, if you have the below conditions; it is prohibited to travel by air

  • Have passed 36 weeks of pregnancy (or 32 weeks if you are carrying twins, triplets, etc.).
  • Have a recent heart attack or stroke. Or any type of surgery, especially stomach, brain, eye, orthopedic (bone and joint) surgery including stomach, eye, or head injury. Please check with your doctor to see when it is safe for you to travel.
  • Have an implanted cardiac device such as pacemakers, cardiac resynchronization therapy (CRT) devices and implantable cardioverter defibrillators (ICD); please check with your doctor before travelling by air. Don’t forget to carry your personal device identification card with you at all times.
  • Have flu-like symptoms with or without tuberculosis like symptoms such as prolonged cough, weight loss, night sweat, fatigue, fever, and chest pain for more than 2 weeks. We strongly advise you to not travel at this stage, and for them to continue treatment with their current care team until his symptoms have resolved completely.
  • Are suffering from the below signs and symptoms, please check with your doctor to see when it is safe for you to travel.
    • Chest pain.
    • Any disease that you can easily spread to other people.
    • Severe sinus, ear, or nose infections.
    • Breathlessness at rest, difficult breathing.
    • Psychotic illness except when fully controlled.
    • A fever of 100 degrees Fahrenheit (38 degrees Celsius) or greater.
    • Skin rash
    • Confusion
    • Bruising or bleeding (without previous injury)
    • Diarrhea that does not go away.
    • Vomiting that does not go away (other than motion sickness).

During the flight:

  • Keep all of your medications in your hand luggage.
  • Drink plenty of water to help prevent hydration and to help loosen your sputum and allow you to keep your chest clear from low humidity levels in air cabin.
  • During a long-distance flight of 4 hours or longer (Also see https://www.cdc.gov/ncbddd/dvt/travel.html , deep vein thrombosis can occur as a result of this inactivity; make sure you get up and walk about regularly when permitted by the staff on the aircraft. Bend and stretch your legs and wiggle your feet at regular intervals (for example every 30 minutes) to encourage your circulation.
    • If you have a higher risk of developing deep vein thrombosis, your doctor can help you work out what measures you may need to take prior to flying. This may include graduated compression stockings, aspirin, or anticoagulants.
  • If you will need oxygen during the flight, this must be requested in advance. A Medical Information Form, stating your current clinical condition and the reason for oxygen requirement, must be filled out and submitted to the airlines. It may take 3-5 working days to process and subjected to the airlines approval.
 

Section II: Pre-operative Preparation

  • Please inform your doctor before the surgery if you have an existing medical condition for which you are taking medication and/or you have undergone any previous surgeries.
  • If you are taking blood thinner medications such as Aspirin, Clopidogrel (Plavix®), Warfarin, Orfarin®, Rivaroxaban (Xarelto®), Apixaban (Eliquis®), Dabigatran (Pradaxa®), Edoxaban (Lixiana®) or dietary supplements such as vitamin E, fish oil, please inform physician ahead of time because you may be asked to temporarily stop your medications so you can safely have the surgery.
  • If you smoke and drink alcohol regularly, please stop for at least one week before the surgery to reduce the chances of complications.
  • If you have any underlying diseases: cardiovascular disease / diabetes / high blood pressure / asthma / cancer / or others including any allergic to any medications and any medicines you are taking, current treatment and correlating diagnosis, please inform physician in advance.

Download 

What do I need to prepare for my medical travel? 

  1. Check if your passport is valid and if you need a visa to travel to the destination country. 

  2. Decide how you will finance your medical payment, such as cash or credit card, and make sure additional cash in the local currency. Call your bank or card insurer to forewarn them that you may process a large payment abroad. This is to prevent banks from treating the transaction as suspicious and blocking your account. 

  3. Ensure that you have contact information to your clinic, transport provider and patient assistant. 

  4. Inform your employer about your absence at work due to medical travel. 

  5. Check the weather forecast for Bangkok and prepare yourself. 

  6. Arrange assistance at home when you are abroad. 

  7. Check if it is necessary for you to get certain vaccinations. 

  8. Remember to make your appointment at the clinic and pay the reservation fee if needed. Double check the dates. 

  9. Purchase appropriate flight tickets. Make sure someone will pick you up from the airport. 

  10. Remove any nail polish as the color of your nail plate may help indicate your health condition. 

What should I take with me?

  1. Mobile phone with a charger
  2. Personal documents such as ID card, passport and visa
  3. Credit/debit card and some additional cash in the correct local currency.
  4. Medical records, including current diagnosis, films (X-ray, MRI, CT scan, ultrasound), biopsy results and your contact information.
  5. Daily medication, if any, in original packaging; any type of information regarding any chronic diseases that you may have.
  6. Items for leisure and entertainment purposes during your medical travel; for instance, books, magazines and music players 
  7. Comfortable pajamas and bathrobe if your medical procedure requires overnight stays; for instance, it is recommended that you wear shorts instead of long trousers if you have a knee surgery scheduled; for a shoulder operation, you may consider bringing a zip-up blazer
  8. Comfortable undergarments and socks
  9. Shoes to walk around the clinic – if you are undergoing plastic or another upper-body surgery, then you may take slippers. In the case of the orthopedic procedure, please bear in mind that you need some more stable footwear trainers.
  10. A basic set of toiletries such as soap, shampoo, toothbrush and toothpaste, deodorant, comb, sanitary napkins, shaving kit, hair band, lip balm and face wash
  11. Towels
  12. A set of clothes for your physiotherapy and rehabilitation, if it is required after surgery; this may include tracksuit and a pair of sneakers
  13. Largely depends on the purpose of your medical travel, you may consider visiting sightseeing destinations; if that is the case, bring casual clothes and comfortable shoes; however, if you may undergo procedures that affect mobility, such as a hip replacement, you should consider bringing comfortable loose trousers, blazer and elastic shorts.
  14. Sleep essentials such as earplugs, pajamas and your favorite small pillow

Political status

COUNTRY RISK ASSESSMENT

A4

Country Risk

See the country risk analysis provided by Coface.


IMG_1109.JPG

 

Traffic Status

Live Traffic Click Here


 

 

Information on Current International Infectious Disease Situation

This information is put together for you by the Infection Control Department at Bumrungrad International Hospital in accordance with the World Health Organization (WHO), Centers for Disease Control (CDC) and the Ministry of Public Health in Thailand. Click Here

Novel Coronavirus 2019 current situation

In response to the Ministry of Public Health’s statement on the new strain of coronavirus from Wuhan, China, Bumrungrad Hospital has immediately implemented stringent measures to screen at-risk patients entering the hospital for treatment. Click Here

Weather Status

Live Weather Click here

คำประกาศสิทธิของผู้ป่วย

เราสามารถให้การดูแลสุขภาพที่ดีได้เมื่อท่านและครอบครัวให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของเรา ทางโรงพยาบาลมีหน้าที่รับผิดชอบในการให้คำแนะนำแก่ท่านในเรื่องสิทธิที่ท่านพึงได้รับในฐานะผู้ป่วย ท่านมีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการรักษาและการดูแลตัวท่าน ทางโรงพยาบาลสนับสนุนให้ท่านถามคำถาม ให้ความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในแผนการดูแล หากท่านมีปัญหาที่ต้องการคำอธิบายในเรื่องดังกล่าว กรุณาปรึกษาเจ้าหน้าที่หรือผู้จัดการ

ในช่วงที่ท่านพักอยู่ในโรงพยาบาลนี้ ท่านจะได้รับสิทธิในฐานะผู้ป่วยดังต่อไปนี้

  1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาลและการดูแลด้านสุขภาพตามมาตรฐานวิชาชีพจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
  2. ผู้ป่วยที่ขอรับการรักษาพยาบาลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลที่เป็นจริงและเพียงพอเกี่ยวกับการเจ็บป่วย การตรวจ การรักษา ผลดีและผลเสียจากการตรวจ การรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ ด้วยภาษาที่ผู้ป่วยสามารถเข้าใจได้ง่าย เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่ในกรณีฉุกเฉิน อันจำเป็นเร่งด่วนและเป็นอันตรายต่อชีวิต
  3. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความ
    จำเป็นแก่กรณี โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรือไม่
  4. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบชื่อ สกุล และวิชาชีพของผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
  5. ผู้ป่วยมีสิทธิขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพหรือเปลี่ยนสถานพยาบาลได้ ทั้งนี้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของสิทธิการรักษาของผู้ป่วยที่มีอยู่
  6. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง เว้นแต่ผู้ป่วยจะให้ความยินยอมหรือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ เพื่อประโยชน์โดยตรงของผู้ป่วยหรือตามกฎหมาย
  7. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้เข้าร่วมหรือผู้ถูกทดลองในการทำวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
  8. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อร้องขอตามขั้นตอนของสถานพยาบาลนั้น ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิหรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของผู้อื่น
  9. บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเองได้

 

หากท่านมีคำถาม ข้อสงสัย หรือข้อเสนอแนะกรุณาติดต่อเราด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังต่อไปนี้

  1. แจ้งเจ้าหน้าที่ทราบโดยตรง (พยาบาลเจ้าของไข้หรือแพทย์)
  2. แสดงความคิดเห็นของท่านผ่านหัวข้อ “Care to Share” ใน BH Application
  3. โทรศัพท์แจ้งแผนกศูนย์กลางการติดต่อสื่อสาร (กดหมายเลข “00” จากโทรศัพท์ภายในโรงพยาบาล หรือ 0-2066-8888 จากภายนอก)
  4. ส่งอีเมลมายัง [email protected]

 

ข้อพึงปฏิบัติของผู้ป่วย

  1. สอบถามเพื่อทำความเข้าใจข้อมูลและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นก่อนลงนามให้ความยินยอม หรือไม่ยินยอมรับการตรวจวินิจฉัยหรือการรักษาพยาบาล
  2. ให้ข้อมูลด้านสุขภาพและข้อเท็จจริงต่างๆ ทางการแพทย์ที่เป็นจริงและครบถ้วนแก่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพในกระบวนการรักษาพยาบาล
  3. ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามได้ให้แจ้งผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพทราบ
  4. ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของโรงพยาบาล ดังต่อไปนี้

4.1 ผู้ป่วยมีหน้าที่รับผิดชอบในการให้ข้อมูลที่สมบูรณ์และถูกต้องต่อการเบิกจ่ายกับบริษัทประกัน และปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินได้ครบถ้วนในเรื่องการรักษาพยาบาลของตนโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้หลังจากได้รับแจ้ง ตามนโยบายของโรงพยาบาล

4.2 ผู้ป่วยมีหน้าที่รับผิดชอบในการให้สำเนาหลักฐานความประสงค์ในการรักษาพยาบาล หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์รับบริการสาธารณสุข หรือการตัดสินใจในเรื่องการปฏิบัติและวิธีการรักษาที่ตนเลือก อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เอกสารดังกล่าวมีผลบังคับใช้เมื่อรับเป็นผู้ป่วย

4.3 ผู้ป่วยมีหน้าที่รับผิดชอบในการมาพบแพทย์ตามตารางนัด และ/หรือแจ้งเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลทราบในกรณีไม่สามารถมาตามตารางนัดได้และจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงเวลา

4.4 ผู้ป่วยมีหน้าที่รับผิดชอบในการให้โอกาสแก่ผู้จัดการพยาบาล หัวหน้าแผนก หรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ในการแก้ไข ข้อร้องเรียนหรือข้อร้องทุกข์ โดยการพูดคุยกับบุคคลเหล่านั้นโดยตรง หากผู้ป่วยไม่ได้รับความพึงพอใจภายในเวลาที่สมเหตุสมผล จะต้องมีการดำเนินงานจากโรงพยาบาลเพื่อแก้ไขสิ่งที่ผู้ป่วยร้องเรียน

4.5 ผู้ป่วยมีหน้าที่รับผิดชอบในการไม่นำสิ่งของมีค่ามายังโรงพยาบาล และนำมาเฉพาะสิ่งของส่วนตัวที่จำเป็นต้องใช้ระหว่างอยู่ที่โรงพยาบาลเท่านั้น

4.6 ทันทีที่การรักษาได้เริ่มต้นขึ้นแล้วนั้น ผู้ป่วยมีหน้าที่รับผิดชอบในการไม่ออกไปจากแผนกที่ตนอยู่ หรือออกนอกโรงพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาตจากแพทย์หรือพยาบาล ทั้งนี้เพื่อประโยชน์และความปลอดภัยของตัวผู้ป่วยเอง

4.7 ผู้ป่วยมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการได้รับการรักษาและการพยาบาล ภายใต้การควบคุมกำกับของโรงพยาบาลเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย หรือบุคคลใกล้ชิดของผู้ป่วยทำการรักษาและการพยาบาลเชิงวิชาชีพในระหว่างอยู่โรงพยาบาล เช่น การปรับอัตราการให้สารละลายทางหลอดเลือด เป็นต้น เว้นแต่การบริหารยาบางประเภทตามที่ได้ระบุไว้ในนโยบายของโรงพยาบาล หรือเป็นการฝึกการดูแลก่อนที่ผู้ป่วยจะถูกจำหน่ายกลับบ้านเท่านั้น

  1. ปฏิบัติต่อผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ป่วยรายอื่น รวมทั้งผู้ที่มาเยี่ยมเยียน ด้วยความสุภาพให้เกียรติและไม่กระทำสิ่งที่รบกวนผู้อื่น
  2. แจ้งสิทธิการรักษาพยาบาลพร้อมหลักฐานที่ตนมีให้เจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาลที่เกี่ยวข้องทราบ
  3. ผู้ป่วยพึงรับทราบข้อเท็จจริงทางการแพทย์ ดังต่อไปนี้

7.1 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานและจริยธรรม ย่อมได้รับความคุ้มครองตามที่กฎหมายกำหนดและมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการถูกกล่าวหาโดยไม่เป็นธรรม

7.2 การแพทย์ในที่นี้ หมายถึง การแพทย์แผนปัจจุบันซึ่งได้รับการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ โดยองค์ความรู้ในขณะนั้นว่ามีประโยชน์มากกว่าโทษสำหรับผู้ป่วย

7.3 การแพทย์ไม่สามารถให้การวินิจฉัย ป้องกัน หรือรักษาให้หายได้ทุกโรคหรือทุกสภาวะ

7.4 การรักษาพยาบาลทุกชนิดมีความเสี่ยงที่จะเกิดผลอันไม่พึงประสงค์ได้ นอกจากนี้ เหตุสุดวิสัยอาจเกิดขึ้นได้ แม้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพจะใช้ความระมัดระวังอย่างเพียงพอ ตามภาวะวิสัยและพฤติการณ์ในการรักษาพยาบาลนั้นๆ แล้ว

7.5 การตรวจเพื่อการคัดกรอง วินิจฉัย และติดตามการรักษาโรค อาจให้ผลที่คลาดเคลื่อนได้ด้วยข้อจำกัดของเทคโนโลยีที่ใช้ และปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน

7.6 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพมีสิทธิใช้ดุลพินิจในการเลือกกระบวนการรักษาพยาบาลตามหลักวิชาการทางการแพทย์ ตามความสามารถและข้อจำกัด ตามภาวะวิสัยและพฤติการณ์ที่มีอยู่ รวมทั้งการปรึกษาหรือส่งต่อโดยคำนึงถึงสิทธิและประโยชน์โดยรวมของผู้ป่วย

7.7 เพื่อประโยชน์ต่อตัวผู้ป่วย ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอาจให้คำแนะนำหรือส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาตามความ เหมาะสม ทั้งนี้ผู้ป่วยต้องไม่อยู่ในสภาวะฉุกเฉินอันจำเป็นเร่งด่วนและเป็นอันตรายต่อชีวิต

7.8 การปกปิดข้อมูลด้านสุขภาพ และข้อเท็จจริงต่างๆ ทางการแพทย์ของผู้ป่วยต่อผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ อาจส่งผลเสียต่อกระบวนการรักษาพยาบาล

7.9 ห้องฉุกเฉินของสถานพยาบาล ใช้สำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินอันจำเป็นเร่งด่วนและเป็นอันตรายต่อชีวิต

 

ทางโรงพยาบาลจะไม่ทนต่อการทำร้ายร่างกาย การพูดจาก้าวร้าว หรือการข่มขู่คุกคามใดๆ ต่อบุคลากรของโรงพยาบาล ผู้ใดที่ใช้ความรุนแรงต่อบุคลากรของโรงพยาบาลจะถูกดำเนินการตามกฎหมายและอาจถูกห้ามเข้าใช้บริการของโรงพยาบาลอีกในภายภาคหน้า

 

การให้คำปรึกษาด้านจริยธรรม

คณะกรรมการจริยธรรมของโรงพยาบาลพร้อมที่จะหารือกับผู้ป่วยและญาติในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูแลที่ผู้ป่วยต้องการจะได้รับ กรณีต้องการนัดหมายเพื่อขอรับคำปรึกษา กรุณาติดต่อแผนกศูนย์กลางการติดต่อสื่อสาร โดยกด “00” จากโทรศัพท์ภายในโรงพยาบาล หรือ 0-2066-8888 จากโทรศัพท์ภายนอกโรงพยาบาล และแจ้งเจ้าหน้าที่ว่าท่านต้องการปรึกษากับสมาชิกของคณะกรรมการจริยธรรม หรือส่งข้อร้องเรียนมายัง [email protected]

 

 

ทบทวน พฤษภาคม 2567

Finding your way to Bumrungrad

Finding Your Way to Bumrungrad

We are committed to providing world-class service to our international patients at Bumrungrad International Hospital. We offer a personalized approach to serving the unique needs of our patients, and it starts the moment you land in Bangkok. 

Bumrungrad Airport Representative

Bumrungrad International Hospital has a dedicated airport representative team to assist you as soon as you arrive at Suvarnabhumi International Airport. After immigration and customs checks, please proceed to Exit B or C (depending on where you collect your luggage) and walk towards Gate 9. The Bumrungrad Airport counter is located diagonally across Exit C of the Arrival Hall as shown in the picture above. More Information


  

Your airport representative can help you with the following: 

  • Arrange Bumrungrad shuttle van services (one-way only) for your arrival. 
    For the shuttle service from Bumrungrad International Hospital to Suvarnbhumi Airport, please reserve a seat at Customer Service Counter on the Ground floor of the Hospital Building and Clinic Building at Bumrungrad International Hospital or call +66-2-011-3168 at least 1 day in advance during 07:00 – 20:00 hrs daily.

  • Book an appointment in advance. 

  • Make changes to your appointment upon arrival. 

  • Make hotel reservations upon arrival. 

 

Bumrungrad Shuttle Van Service

Bumrungrad International Hospital provides complimentary shuttle van service from Suvarnabhumi International Airport to Bumrungrad or hotels close by the hospital. The shuttle van is scheduled to depart every hour (depends on the number of passengers) from Suvarnabhumi International Airport. The departure time of the shuttle van depends on the prevailing traffic conditions. Click here to learn more about our airport services

At Suvarnabhumi International Airport, there are many transportation options available. This includes: 

At Don Mueang International Airport, there are also a number of public transportation options for you to choose from.  

Maps and Directions to Bumrungrad

Bumrungrad International Hospital is one of the world’s premier healthcare establishments, with over 55 specialized clinical departments. Located in the heart of Bangkok,Bumrungrad is easily accessible. Here are a number of maps and directions to help you make your way to the hospital with ease.

Area Map

Bumrungrad International Hospital Bangkok Thailand Map and Direction
Click to download map - PDF (618 KB)

 

Interactive Google Map 


View Larger Map

Shuttle Van Services From Suvarnabhumi

Bumrungrad operates its own transportation counter in the arrival area C of Suvarnabhumi International Airport. Our staff are stationed at the counter to help medical travelers and arrange plane-to-hospital transportation services.

Getting a Taxi from Suvarnabhumi

If you would like to head to Bumrungrad on your own, we recommend getting a taxi from the airport. There is a taxi stand located on the ground level of the Main Terminal Building. Generally speaking, the queue might be long, but it tends to move fairly quickly. Simply let the staff at the taxi stand know your destination. To head straight to Bumrungrad, our hospital name is sufficient as are well known in Bangkok. 
 
All drivers should the taxi meter in Bangkok, and the fare automatically starts at 35 THB. There is an additional surcharge of 50 THB for getting a taxi from the airport, and this is payable to the driver at the end of the journey. We recommend that you take the highway from the airport, as the elevated freeway takes you right into the heart of Bangkok, very close to Bumrungrad.  
 
If you get a taxi from the airport or anywhere around Bangkok, it is best to make sure you that you have small notes such as 100 THB as taxi drivers do not often carry a lot of change. In Bangkok, tips are accepted gratefully by taxi drivers. For a journey from the airport to Bumrungrad, 20 THB is a good tip.
A Guide to Ensure That Your Stay is Comfortable

A Guide to Ensure That Your Stay is Comfortable

When you stay at Bumrungrad, you are taken care of by a professional team of staff and nurses who are an expert in addressing your specific needs. We are dedicated to making your patient stay a smooth and exceptional experience.

Admission Time

Patients can check-in anytime depending on the physician’s recommendation and the patient’s scheduled procedure(s). The total daily room charge starts from the admission time up to the period of 24| hours. In case more than 24 hours and more, if extra hours are less than 12 hours, an extra half of daily room charge will be applied, if extra hours are between 12 - 24 hours, the total daily room charge will be applied in full. 

Contact Admission Office

7am to 8pm: Upon arrival at the hospital, please proceed to the second floor of Building B to check-in and sign the Application and Consent for Hospital Admission.

8pm to 7am: Upon arrival at the hospital, please contact the registration desk at the emergency room on the ground floor of Building B to check-in and sign the Application and Consent for Hospital Admission. 

Pre-admission Procedure

Patients, including medical travelers, can only be admitted to Bumrungrad International Hospital upon a physician’s recommendation. Click here to book an appointment

During the admission process, patients will be informed of the following:

  • Types of inpatient rooms
  • Pricing of the inpatient rooms, services and daily meals
  • The estimated cost of operation and procedure
  • Deposits
  • Various modes of payment accepted
  • Contract company
  • Permission to leave the hospital
  • Policy regarding guests staying overnight with the patient
  • Information on infection control, prevention and patient safety
  • Child delivery
  • Policy regarding procedures, medication and treatments at the hospital
  • Inpatient nutritional plans
  • Valuables and safety box
  • Loss and damage policy of hospital property
  • Equipment and tools to be employed in the hospital
  • Information on visas and possible extensions

What to Bring

  • Passport with immigration stamp (Arrival stamp by Thai Immigration Bureau)
  • Any proof of medical insurance or benefits such as a letter of guarantee from your insurance company, employer or embassy

This is only applicable for insurance companies, employers and embassies which have a contract agreement with Bumrungrad.

Hospital Services and Facilities

To ensure a restful stay, Bumrungrad provides a range of facilities and services for the comfort and convenience of our patients and their visitors. Click here to learn more about our hospital services and facilities.

Telephone Services

Bedside telephones are available in all inpatient rooms. 

  • To call a local mobile phone, dial 9 and then the mobile phone number.
  • To make a three-digit and four-digit number call, dial 9 and then the three-digit and four-digit number.
  • To make a perimeter call, dial 9, 02 and then the phone number. 
  • To make an up-country call, dial 9, the area code and then the phone number.
  • To make an overseas call, dial 9, 001, the country code, the area code and then the phone number.

Room Entertainment

Television: The inpatient room is equipped with a television, showing free-to-air television channels, a variety of entertainment shows and sports games.  Internet access: High-speed Internet will be accessible with a unique password that is given upon check-in.

Meal Services

Inpatient meals: To ensure that all our patients receive proper nutritional value under our physician’s recommendation, patients are encouraged to only consume the food provided by the hospital. Our dietetic services will take the patient’s procedure into consideration and present freshly cooked meals that are best for their health condition.

Dining options: A range of dining options is available for patients, family members and friends in the Main Hospital Building of Bumrungrad. Most of these restaurants will deliver directly to the patient’s room with a simple phone call. Click here to learn more.

Nursing Services

For our patient’s safety and convenience, there is a nursing call handset by your bed, connecting you to our nursing staff 24 hours a day. There are also call bells located in the bathroom. Our team of nurses and staff are always happy to assist. 

Patient attendant: For patient attendant services, please contact ward nurses for more information. Once requested and approved, we will allocate a patient attendant or nursing assistant to the room.

Business Center

The Business Center is a central point of information and contacts, providing support and help to all patients and their families with their travel documentation. This includes visa extension, clerical duties and other secretary support services. We are here to ensure that medical travelers admitted to Bumrungrad and their families are well assisted during their stay in Bangkok. Click here to learn more

Other Services

  • Housekeeping: Every patient room is cleaned daily by our housekeeping team. You can inform our ward nurses of any specific needs or requirements.
  • Newspaper: Every morning, the local newspaper will be delivered to your room.
  • Maintenance requests: If you find anything is faulty, please inform our ward nurses to prepare for repair.
  • Security: There is an in-room electronic safe box, which we encourage patients to use for depositing valuables.
  • Fire safety: The hospital has an automatic fire alarm system.
  • No smoking: Smoking is prohibited by law on all hospital grounds.
  • Parking: Our car parking lot is open 24 hours a day.

Visiting Guide

At Bumrungrad, we believe that family members and friends play an important role in the patient’s recovery process. We encourage visitors to drop by and keep the patient company under these simple housekeeping rules, which only apply to patients staying at regular wards. Patients staying in private single room can welcome visitors 24 hours.

Visiting the Regular Ward

Patients staying in double or two-bed bedrooms are recommended to welcome visitors between 6 am to 10 pm to avoid disturbing other patients in the room.

After 10 pm, visitors must first register at the nurse station. Once the visitation is approved by the patient, hospital staff will then accompany the visitor to the patient’s room.

Visiting the Critical Care Units

Visitation is only allowed from 9 am to 12 am and from 2 pm to 10 pm. Visitation is strictly prohibited during all other hours.

Only two visitors will be allowed in a patient’s room at a time.

Children under the age of 12 are not permitted to visit patients in critical care units unless it is a critical patient. In that case, visitation will be considered.

Visitors are not permitted to eat, drink or stay overnight in the critical care units.

Photography and videos are prohibited in the critical care department.

Please avoid bringing flowers into the critical care units.

Please refrain from using your mobile phone in the critical care units or surrounding area.

Level of Satisfaction for Health Experience

Level of Satisfaction for Health Experience

Your feedback towards our healthcare services is valuable to our organization as we strive to improve our services every day.

Follow-up

Patients will be contacted by Bumrungrad after the discharge for a follow-up regarding their medical conditions and satisfaction towards our services. Please provide the contact details to our nurses so that our coordination physicians and cultural support officers can follow-up with you.

What to expect before and after your discharge

Being discharged may be exciting and stressful at the same time. Bumrungrad offers this guide to help you understand the discharge process and what to expect after departure. Keep in mind that healing doesn’t stop after you leave, and it is important to follow your doctor’s medical advice after departure.

Discharge Plan

At Bumrungrad, patients will be first assessed by physicians before written discharge orders are issued. To ensure that you are ready for the discharge process, the written discharge order must be recorded and filed in your medical records prior to the discharge.

Discharge Time

The discharge happens at 12.00 h. On the day of your discharge, you are allowed to submit a request for a late discharge and stay longer. However, additional expenses will be applied. 

  • If you decide to discharge before 6 pm, you will be charged half-day for the room and services and full price for any food services.
  • If you decide to discharge after 6 pm, you will be charged for regular room, service and meal plans at full price.

If you require to be transferred to the Critical Care Unit, Bumrungrad would like for you to return the room and help you arrange the transfer immediately.

Traveling by Air

If you need to travel by air to return to your home country or another travel destination, you will need to as your doctor to certify a Fit for Travel Medical Certificate, as well as a list of medications you will require abroad. The Fit for Travel Medical Certificate is only valid for seven days from the date of issue. Please ensure the following before making travel plans:

  • Ask your physician for a summary of medical reports, lab tests and X-ray results
  • Gather the contact information of your clinic, transport provider and patient assistant
  • Inform your physician and nurse where your destination is
  • Confirm transportation plans at the airport in the destination you are headed to

Against Medical Advice

Patients and Medical travel patients who refuse all types of diagnostic, treatment both inpatient and outpatient; Patients and Medical travel patients have to follow the hospital policy by signing “Consent :Against Medical Advice”

Educational Resources

It is important to understand the educational resources and recommendations that your doctor gives you at the discharge. The following list includes some of the important takeaways at discharge. Please do not hesitate to contact your doctor if you have any questions. 

At discharge, patients will:

  • Be informed and educated about the drugs and medication that they have been given.
  • Be taught how to manage and adapt to the environment so that it does not affect their health condition; how to utilize community resources and deal with the economic and social problems which may affect their condition.
  • Understand the goal of treatment, learn how to observe their own symptoms and know when to notify the physician or nurse about significant symptoms. Patients will have sufficient knowledge to handle any emergency situations by themselves appropriately before arriving at a hospital.
  • Understand their own health status such as limitations and effect from their medical condition. Patients will be able to handle daily activities, cope with the health limitation, aid recovery and prevent complications from happening.
  • Understand and realize the importance of follow-up appointments. Patients should understand the need to ask for help in the case of emergency, as well as the treatment outcome and treatment plan to the other units which may be applicable.
  • Have the know-how in selecting nutritional food that is best for their health condition.

If treatment must be continued at another healthcare facility, patients will discharge and leave with a summary of the given treatment at Bumrungrad. This summary report will be issued by a physician and given to the patient by a nurse at discharge.

Bumrungrad's World-Class Facilities

Electrophysiology Lab
Da Vinci Robot-Assisted Surgery

International Accreditation

Hospital Accreditation-HA

Bumrungrad is the first hospital in Thailand to obtain the Advanced Hospital Accreditation (A-HA) from the Healthcare Accreditation Institute in 2016.

Global Healthcare Accreditation

With a focus on medical travel care, the Global Healthcare Accreditation (GHA) Program sets the standard for healthcare organizations serving medical travel patients.

Joint Commission International

Bumrungrad was the first Asian hospital accredited by the Joint Commission International (JCI), the international arm