You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
การตรวจหาไขมันพอกตับสามารถทำได้ 3 วิธี ได้แก่ อัลตราซาวด์, Fibroscan, และการตรวจเลือด โดยแต่ละวิธีมีวัตถุประสงค์ต่างกัน
อาหารอย่างชานมไข่มุก, หมูกะทะ และเบเกอรี่มักมีไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์สูง ซึ่งพบในน้ำมันและอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง การบริโภคมากเกินไปจะเพิ่มระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ทำให้ไขมันสะสมในตับและอาจนำไปสู่โรคตับไขมัน
การใช้ฮอร์โมนในระยะยาว เช่น การรักษาถุงน้ำรังไข่ การป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำของมะเร็งเต้านม หรือการปรับสมดุลฮอร์โมน อาจส่งผลต่อสุขภาพตับได้ ฮอร์โมนสามารถกระตุ้นให้เซลล์ตับสะสมไขมันเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจนำไปสู่การอักเสบและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตับ
“ช่วงนั้นผมแย่ ผอมแห้ง ท้องมาร ขาบวม โทรมมาก ไม่มีแรง เดินได้แค่ไปธุระที่จำเป็น ไปทานข้าวนอกบ้านบ้าง แต่คนมองจนเราไปไม่อยากไปไหน เพราะท้องใหญ่มากแต่ตัวผอมกะหร่อง ต้องเจาะน้ำทิ้งทุก 1-2 อาทิตย์” แพทย์แนะนำให้รักษาด้วยการใส่เส้นเลือดเทียมพิเศษในตับ (TIPS shunt)ช่วยให้ระบบไหลเวียนของเลือดในตับเปลี่ยนไป
อายุรแพทย์เฉพาะทางด้านระบบทางเดินอาหารและตับ มีความถนัดในการรักษาโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง จาก Mayo Clinic ประเทศสหรัฐอเมริกา
อายุรแพทย์เฉพาะทางด้านระบบทางเดินอาหารและตับ และการส่องกล้องขั้นสูง (Advance Endoscopy) จาก Mayo Clinic ประเทศสหรัฐอเมริกา มีความถนัดในการรักษาโรคด้วยการส่องกล้องโดยไม่ต้องผ่าตัด ซึ่งช่วยลดการพักฟื้นและลดภาวะแทรกซ้อนได้ดี
คุณเจนณิสตา มีอาการท้องผูกตั้งแต่จำความได้ แต่คิดว่าเป็นเรื่องปกติ จึงซื้อยาระบายมาโดยตลอด แท้จริงผู้ป่วยมีภาวะ Dyssynergic defecation ซึ่งเกิดจากภาวะหูรูดทวารหนักทำงานไม่สัมพันธ์กับการสั่งการ ส่งผลให้มีอาการท้องผูกเรื้อรัง ซึ่งรักษาได้โดยการฝึกเบ่งให้ถูกวิธี
"ขอชื่นชมเรื่อง sense of urgency ของโรงพยาบาล ถ้าวันนั้นคุณหมอไม่รับเป็นผู้ป่วย ก็ต้องไปรักษาที่โรงพยาบาลอื่น อาจได้ผ่าตัดมะเร็งลำไส้ ทั้งที่ไม่ได้เป็นมะเร็ง ชีวิตตอนนี้คงใส่ถุงทวารหน้าท้องอยู่"
โรค IBD ถือเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เป้าหมายหลักของการรักษาเป็นการบรรเทาอาการของโรค และการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำ รวมถึงการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ โดยแพทย์อาจพิจารณาแนวทางการรักษาตามความรุนแรงของโรค