You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
คุณกำลังเผชิญกับปัญหาโรคไทรอยด์ที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันของคุณหรือไม่? โรคไทรอยด์อาจทำให้คุณรู้สึกเหนื่อยล้า น้ำหนักเปลี่ยนแปลงผิดปกติ และอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงหากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
ฮอร์โมนไทรอยด์เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์ซึ่งมีตำแหน่งอยู่บริเวณด้านหน้าของลำคอ มีบทบาทในการควบคุมเมแทบอลิซึมของร่างกาย และในเด็กมีความสำคัญต่อการเติบโตและการพัฒนาของสมอง
โรคที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ซึ่งพบได้บ่อย นั่นก็คือภาวะ “ก้อนที่ต่อมไทรอยด์” ซึ่งหากปล่อยไว้ นานวันไปอาจกลายเป็นมะเร็งที่ต่อมไทรอยด์ได้ ดังนั้นเราจึงไม่ควรมองข้าม
การรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของไทรอยด์ทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับว่าผู้ป่วยเป็นโรคอะไรมีอาการและมีความรุนแรงของโรคมากน้อยแค่ไหน โดยแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาผู้ป่วยแต่ละรายว่าเหมาะสมกับการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดหรือไม่
ก้อนที่ต่อมไทรอยด์เป็นภาวะที่พบได้บ่อย ยิ่งมีอายุมากขึ้น ยิ่งมีโอกาสพบได้มากขึ้น โดยประมาณครึ่งหนึ่งของคนที่มีอายุมากกว่า 65 ปีจะพบก้อนที่ต่อมไทรอยด์เมื่อตรวจด้วยอัลตร้าซาวด์ ก้อนที่ต่อมไทรอยด์มักไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บปวดใดๆ ผู้ป่วยอาจรู้ตัวว่ามีก้อนที่ต่อมไทรอยด์จากการสังเกตเห็นเองหรือคนอื่นทักเพราะสังเกตเห็นความผิดปกติ
ถึงแม้จะต้องต่อสู้กับโรคไทรอยด์ขั้นรุนแรงมาหลายปี แต่คุณรณิดาหรือคุณมะเหมี่ยว นักธุรกิจและคุณแม่ลูกสามก็ไม่เคยหมดหวังด้วยความเข้มแข็งและกำลังใจที่ได้รับจากครอบครัว รวมถึงความมั่นใจในความชำนาญและความประทับใจในการดูแลเอาใจใส่ของคุณหมอที่รักษา
โดย นายแพทย์รชานนท์ มูรธานันท แพทย์ผู้ชำนาญการด้านอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อเมตะบอลิสม ศูนย์ต่อมไร้ท่อเบาหวานและโภชนบำบัด โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
วิธีคลำก้อนไทรอยด์ด้วยตัวเอง ทำได้ง่ายๆ จากวีดีโอนี้กันค่ะ
อีกหนึ่งความผิดปกติในต่อมไทรอยด์อีกรูปแบบหนึ่ง เรียกกันว่า ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ จะมีสาเหตุมาจากอะไร และใครเป็นกลุ่มเสี่ยงบ้าง