You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
ปัจจุบันเรากำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว เราควรมีการเตรียมความพร้อมให้กับผู้สูงวัย เตรียมรับมือกับโรคภัยไข้เจ็บที่จะเกิดขึ้นตามอายุที่มากขึ้น โรคหนึ่งที่หลายคนมองข้ามในผู้สูงวัยคือ การติดเชื้อไวรัส RSV ที่อาจส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและเสียชีวิตได้
รศ.พญ. สมศรี พิทักษ์กิจรณกร เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์ ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี ในการดูแลครรภ์เสี่ยงสูง โดยเฉพาะการใช้ อัลตราซาวด์ เพื่อตรวจวินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนก่อนคลอด เช่น ครรภ์แฝด รกเกาะต่ำ และรกเกาะผิดที่
ผศ.นพ. สมมาตร บำรุงพืช สูติ-นรีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์ มีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี ดูแลเคสครรภ์เสี่ยงสูงและซับซ้อน
วัคซีน RSV สำหรับหญิงตั้งครรภ์ได้รับการพัฒนาเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันในแม่และถ่ายทอดแอนติบอดีผ่านทางรกไปยังทารกในครรภ์ ทำให้ทารกมีภูมิคุ้มกันต่อ RSV ตั้งแต่แรกเกิด โดยเฉพาะในช่วง 6 เดือนแรกของชีวิตที่ยังไม่สามารถรับวัคซีนได้เอง
การตรวจมะเร็งระดับชีวโมเลกุล เป็นการตรวจความผิดปกติหรือการกลายพันธุ์ในระดับชีวโมเลกุลของยีน การตรวจความผิดปกติเหล่านี้ สามารถเป็นตัวบ่งชี้ถึงความเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง ช่วยในการวินิจฉัยและการตอบสนองต่อการรักษาของยาจำเพาะเจาะจงบางชนิด
อาการเวียนศีรษะบ้านหมุนหลังแผ่นดินไหวเป็นเรื่องปกติมากกว่าที่คุณคิด อาการเวียนศีรษะ เสียสมดุล หรือรู้สึกบ้านหมุนหลังเกิดแผ่นดินไหว มักเรียกกันว่า "อาการเวียนศีรษะบ้านหมุนหลังแผ่นดินไหว (post-earthquake vertigo)" หรือ "อาการป่วยจากแผ่นดินไหว (earthquake sickness)" ซึ่งคล้ายกับอาการเมารถ (motion sickness) เรามาดูกันว่า สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเหล่านี้มีอะไรบ้างและคุณจะรับมือกับมันได้อย่างไร
การเตรียมความพร้อมก่อนออกเดินทางท่องเทียวในผู้สูงวัย เป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะการวางแผนเดินทางล่วงหน้าและการเตรียมตัวด้านสุขภาพให้พร้อมจะช่วยให้ผู้สูงวัยเดินทางได้อย่างปลอดภัย ทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงจากปัญหาด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการเดินทางอีกด้วย
เมื่อต้องผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า เปลี่ยนแล้ว.. จะกลับมาใช้งานได้ดีเหมือนเดิมหรือไม่ และข้อเทียมมีความแตกต่างจากข้อจริงมากน้อยแค่ไหนบทความนี้ช่วยเคลียร์ข้อสงสัยในประเด็นนี้ได้