You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
การสูญเสียการได้ยิน
ค้นหาแพทย์
ติดต่อสอบถาม
นัดหมายแพทย์
หูเป็นอวัยวะรับเสียง มีส่วนประกอบอยู่หลายส่วนสลับซับซ้อน ทำให้สามารถสื่อความหมายเข้าใจซึ่งกันและกัน การหลบหลีกภัยอันตรายก็ต้องอาศัยความสามารถในการได้ยิน การที่คนเรามีหูสองข้างเพื่อที่จะสามารถบอกทิศทางของเสียงได้ว่ามาจากทิศไหน
1. กระดูกนำเสียง 3 อัน คือ
2. ท่อเล็กๆ ซึ่งเชื่อมต่อหูชั้นกลางกับโพรงอากาศหลังโพรงจมูกในคอ ท่อนี้มีชื่อว่า Eustachian tube ทำหน้าที่ในการปรับความดันอากาศในช่องหูชั้นกลาง
แพทย์จะทำการซักประวัติอย่างละเอียดเกี่ยวกับการสูญเสียการได้ยินของท่าน ซึ่งควรจะตอบให้ละเอียด สิ่งที่แพทย์ต้องการทราบ ได้แก่
2. แพทย์จะทำการตรวจหูอย่างละเอียด ตรวจจมูก และคอ นอกจากนั้นก็จะตรวจระบบประสาท เส้นประสาทสมองต่างๆ
3. ตรวจพิเศษต่าง ๆ
4. ถ้ายังหาสาเหตุไม่พบ หรือในรายที่แพทย์สงสัยจะมีเนื้องอก อาจต้องตรวจเอ็กซเรย์สนามแม่เหล็ก (CT/MRI) เป็นต้น
5. การตรวจเลือดเบาหวาน โรคไต ไขมัน คลอเรสเตอรอล ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง เชื้อซิฟิลิสหรือภูมิคุ้มกันของร่างกาย เป็นต้น
2.1 มีอาการไม่มาก และเริ่มมีอาการไม่เกิน 1 เดือน อาจรักษาได้ด้วยยารับประทาน
2.2 สูญเสียการได้ยินไม่มากสามารถรักษาฟื้นฟูได้ โดยการใส่เครื่องช่วยฟัง ซึ่งเป็นเครื่องขยายเสียงขนาดเล็กใช้สอดใส่เข้าไปในรูหู หรือวางทัดหลังหู
2.3 ผู้ที่มีประสาทหูพิการรุนแรงที่เรียกว่าหูหนวกหรือเกือบหนวก การใส่เครื่องช่วยฟังมักไม่ได้ผล จำเป็นต้องใช้การรักษาแนวใหม่ คือการฝังประสาทหูเทียมซึ่งต้องใช้ความพิถีพิถันและความร่วมมือเป็นพิเศษระหว่างทีมแพทย์ผ่าตัดและผู้เชี่ยวชาญสาขาโสตสัมผัสและการพูด
การรักษาที่เกี่ยวข้อง
แพทย์ที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์รักษาที่เกี่ยวข้อง
โทรเพื่อทำการนัดหมาย
สนทนากับมีเดียกูรู สุทธิชัย หยุ่น ในหัวข้อ "ตระหนักรู้ก่อนสูญเสียการได้ยิน" โดย ศ.พญ. เสาวรส ภทรภักดิ์ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านหู คอ จมูก ผู้อำนวยการศูนย์การได้ยิน และการทรงตัว โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
ตามการสนทนาไม่ทัน ต้องพยายามอย่างมากที่จะจับใจความโดยเฉพาะในวงสนทนที่มีหลายคนบางครั้งต้องใช้การอ่านปากเข้าช่วย
1 ใน 3 ประชากรอายุมากกว่า 50 ปี มีโอกาสเกิดการบกพร่องทางการได้ยิน เช็คปัจจัยสี่ยง รู้เร็ว รักษาได้