bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

รู้สึกว่าในความโชคร้ายก็ยังมีความโชคดี

ประสบการณ์การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ ตับและปอด คุณเชื่อมจิต มุสิกบุตร

อ่านเพิ่มเติม

เปิดประสบการณ์ตรงกับการรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะเริ่มต้นด้วยการส่องกล้อง โดยไม่ต้องผ่าตัด

ขาดการตรวจสุขภาพไปถึง 10 ปี เมื่อตรวจสุขภาพอีกครั้ง ด้วยการตรวจส่องกล้องลำไส้ใหญ่ ทำให้พบติ่งเนื้อเล็กๆ จำนวนมาก และติ่งเนื้อขนาด 2 ซม. ไม่สามารถตัดด้วยเทคโนโลยีส่องกล้องทั่วไป นี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการรักษาด้วยเทคโนโลยี FTRD

อ่านเพิ่มเติม

ตรวจพบติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่ รักษาได้อย่างไรบ้าง

หากท่านตรวจพบติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่ แพทย์มีเทคโนโลยีในการตัดติ่งเนื้อออกได้ โดยไม่ต้องผ่าตัด

อ่านเพิ่มเติม

ตรวจส่องกล้องลำไส้ใหญ่มีขั้นตอนอย่างไร

การเตรียมตัวส่องกล้องลำไส้ใหญ่ ทำได้ง่ายและไม่น่ากลัวอย่างที่คิด

อ่านเพิ่มเติม

การคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่มีวิธีอะไรบ้าง

การตรวจคัดกรองทำได้หลายวิธี เช่น การตรวจหาเลือดในอุจจาระ การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ แต่วิธีการตรวจที่ดีที่สุดคือการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (colonoscope) เพราะแพทย์สามารถมองเห็นรายละเอียดและประเมินอาการผิดปกติต่างๆภายในลำไส้ใหญ่ได้อย่างแม่นยำ

อ่านเพิ่มเติม

ทำไมต้องตรวจส่องกล้องคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่

มะเร็งลำไส้เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้นๆของโลก แต่ท่านสามารถคัดกรองความเสี่ยงตั้งแต่เริ่มต้นได้ด้วยการตรวจส่องกล้องลำไส้ใหญ่

อ่านเพิ่มเติม

กรณีคนในครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ ท่านควรดูแลตัวเองอย่างไร

มะเร็งลำไส้ใหญ่พบมากในผู้ที่มีอายุ 45 ปีขึ้นไป สามารถเกิดได้ทุกเพศ ทุกวัย ผู้ที่มีประวัติบุคคลในครอบครัวป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่ควรเข้ารับการตรวจส่องกล้องลำไส้ใหญ่เมื่อมีอายุ 40 ปีขึ้นไป

อ่านเพิ่มเติม

อาการแบบไหนที่ทำให้ท่านสงสัยว่าท่านป่วยเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่

มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งอันดับ 3 ในประเทศไทย และยังเป็นภัยเงียบอีกด้วย การตรวจส่องกล้องลำไส้ใหญ่อย่างสม่ำเสมอจึงจำเป็นเพื่อป้องกัน และรักษาได้ทันท่วงที

อ่านเพิ่มเติม

มะเร็งลำไส้ ภัยเงียบที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม

มะเร็งลำไส้เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้นๆของโลก ในแต่ละปีมีผู้คนจำนวนมากที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ ถึงแม้ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นมะเร็งลำไส้ด้วยปัจจัยเสี่ยงจากตัวบุคคลและสภาพแวดล้อม แต่ผู้ป่วยประมาณ 5 – 10% เป็นมะเร็งลำไส้จากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม

อ่านเพิ่มเติม