bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

กระดูกสันหลังคดโดยไม่ทราบสาเหตุในวัยรุ่น (Adolescent idiopathic scoliosis)

กระดูกสันหลังคดโดยไม่ทราบสาเหตุในวัยรุ่น (Adolescent idiopathic scoliosis(AIS)) ความชุกที่มีรายงานทั่วโลกอยู่ที่ 0.35-13% ขึ้นอยู่กับเชื้อชาติ เพศ และวิธีการคัดกรอง1 โดยโรคชนิดนี้มักพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ในประเทศไทย การสำรวจในโรงเรียนบางส่วนพบความชุก 0.91-4.62% 2-3 จากการศึกษาในโรงเรียนในเขตเมืองกรุงเทพ ในเด็กผู้หญิงอายุระหว่าง 11-13 ปี จำนวนทั้งหมด 1,818 คน พบความชุกอยู่ที่ 4.62%

อ่านเพิ่มเติม

Scoliosis Patient Testimonial – ความประทับใจคนไข้ คุณบุญสิริ ชุตินาวี หลังการผ่าตัดกระดูกสันหลังคด

คุณบุญสิริ ชุตินาวี คนไข้วัย 15 ปี พบว่าตนเองเป็นโรคกระดูกสันหลังคดจากการตรวจสุขภาพที่โรงเรียน และสังเกตเห็นว่าเอวทั้งสองข้างสูงต่ำไม่เท่ากัน ทางครอบครัวจึงตัดสินใจพาคุณบุญสิริมาปรึกษากับนพ. สมโภชน์ ไพบูลย์ศิริจิตที่โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เพราะรู้สึกว่าไว้วางใจได้และมีเครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเท้าแพลง การบาดเจ็บที่พบได้บ่อย

ข้อเท้าแพลง เป็นการบาดเจ็บที่พบบ่อยทั้งในนักกีฬาและบุคคลทั่วไป ทำให้เกิดการบาดเจ็บของเอ็นด้านข้างข้อเท้าด้านนอก (lateral ligaments) และมีอาการปวดบวมบริเวณเส้นเอ็นที่บาดเจ็บหรือลงน้ำหนักที่ข้อเท้าไม่ได้

อ่านเพิ่มเติม

โรคปลอกหุ้มเอ็นข้อมืออักเสบ

โดย นพ.สุรชัย รัตนเสรีเกียรติ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ, การผ่าตัดมือ

อ่านเพิ่มเติม

การผ่าตัดข้อเทียมเพียงบางส่วน

โดย น.พ. ตุลพงษ์ อ่ำพูล แพทย์ผู้ชำนาญการศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ และการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม

อ่านเพิ่มเติม

สัญญาณข้อสะโพกเสื่อม

เมื่อข้อสะโพกเสื่อมจึงถือเป็นเรื่องใหญ่เพราะส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันเพราะข้อสะโพกเสื่อมทำให้สะโพกติดขัด

อ่านเพิ่มเติม

การตรวจคัดกรองกระดูกสันหลังคดในเด็กและวัยรุ่น

โรคกระดูกสันหลังคด เป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยทั่วไปส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ

อ่านเพิ่มเติม

เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผ่าตัดกระดูกสันหลัง

ในอดีตการผ่าตัดกระดูกสันหลังอย่างเป็นรูปแบบได้มีการบันทักและเริ่มเมื่อประมาณต้นปี ค.ศ. 1900 ซึ่งเกิดตามมาหลังจากการมีการใช้ยาดมสลบ มีเครื่อง x-ray และมียาฆ่าเชื้อที่ดีขึ้น การผ่าตัดหมอนรองกระดูกสันหลังเริ่มมีการทำครั้งแรกในปี 1932 มีการใช้เครื่องตรวจเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ครั้งแรกเมื่อปี 1977 ซึ่งสามารถศึกษาถึงโครงสร้างภายในกระดูกสันหลัง รวมถึง เส้นประสาท และไขสันหลัง การผ่าตัดในอดีตมีความแตกต่างจากปัจจุบันอย่างมาก

อ่านเพิ่มเติม

ข้อเท้าพลิกทางด้านนอก

ภาวะข้อเท้าพลิก ถือเป็นการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นได้บ่อยที่สุดชนิดหนึ่งในบรรดาการบาดเจ็บของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์ที่ห้องฉุกเฉิน โดยพบมากที่สุด ในช่วงอายุระหว่าง 15-35 ปี โดยพบอุบัติการณ์การเกิดข้อเท้าพลิกทางด้านนอก (lateral ankle sprain) อยู่ระหว่าง 0.54-11.55 ต่อ 1,000 คน

อ่านเพิ่มเติม