bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

กระดูกสันหลังคดโดยไม่ทราบสาเหตุในวัยรุ่น (Adolescent idiopathic scoliosis)

กระดูกสันหลังคดโดยไม่ทราบสาเหตุในวัยรุ่น (Adolescent idiopathic scoliosis(AIS)) ความชุกที่มีรายงานทั่วโลกอยู่ที่ 0.35-13% ขึ้นอยู่กับเชื้อชาติ เพศ และวิธีการคัดกรอง1 โดยโรคชนิดนี้มักพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ในประเทศไทย การสำรวจในโรงเรียนบางส่วนพบความชุก 0.91-4.62% 2-3 จากการศึกษาในโรงเรียนในเขตเมืองกรุงเทพ ในเด็กผู้หญิงอายุระหว่าง 11-13 ปี จำนวนทั้งหมด 1,818 คน พบความชุกอยู่ที่ 4.62%

อ่านเพิ่มเติม

Gender Affirming Surgery VDO series Ep.3 วิธีดูแลหลังผ่าตัดเสริมเต้านมของหญิงข้ามเพศ

การผ่าตัดเสริมหน้าอก แม้จะมีความซับซ้อนน้อย แต่ผู้เข้ารับบริการจำเป็นต้องได้รับการดูแลหลังผ่าตัดอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งเพื่อให้ผลลัพธ์ทางการรักษาออกมาดีที่สุด

อ่านเพิ่มเติม

การผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง Endoscope (Endoscopic Spine Surgery)

การผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง endoscope เป็นหนึ่งในการผ่าตัดบาดเจ็บน้อย (minimally invasive spine surgery) เป็นการใช้เทคโนโลยี และ เทคนิคในการผ่าตัดสมัยใหม่ โดยจุดประสงค์เพื่อให้มีการบาดเจ็บต่อเนื่อเยื่อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อให้น้อยที่สุด และผลการรักษาไม่ด้อยกว่าการผ่าตัดแบบเปิดแผลปกติ (conventional operation)

อ่านเพิ่มเติม

หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท (Lumbar Disc Herniation/Herniated Disc)

โรคทางกระดูกสันหลังที่พบได้บ่อย เจอ 1-3% ของคนทั่วไป มักเจอในวัยกลางคน อายุ 40 ปี เจอในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 60%/40% สาเหตุเกิดจาก หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อมตามอายุ ตามกรรมพันธุ์ ตามการใช้งาน หลังจากเสื่อมก็มีรูปริของหมอนรองกระดูก ทำให้หมอนรองกระดูกที่อยู่ข้างในเคลื่อนออกมากดทับเส้นประสาท

อ่านเพิ่มเติม

ปลุกพลัง สร้างแรงบันดาลใจในวันโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งโลก (World Multiple Sclerosis Day) – I Connect, We Connect

วันโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งโลก (World Multiple Sclerosis: MS) จัดขึ้นในวันที่ 30 พ.ค. ของทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คนทั่วโลกเกิดความสนใจในผลกระทบของโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (MS) ที่มีต่อผู้ป่วยและครอบครัว

อ่านเพิ่มเติม

โรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal Stenosis)

เป็นหนึ่งในโรคที่พบบ่อยที่สุดในโรคทางกระดูกสันหลัง มักเกิดได้บ่อยบริเวณหลังส่วนล่าง มีการกล่าวถึงครั้งแรกเมื่อประมาณ 200 ปีก่อน เกิดจากความเสื่อมของกระดูกสันหลัง เมื่ออายุมากขึ้น กระดูกสันหลังก็จะเริ่มมีความเสื่อมเกิดขึ้น โดยมีการเสื่อมของหมอนรองกระดูกและเกิดการทรุดตัวหรือยื่นนูนขึ้น ข้อต่อกระดูกสันหลังทางด้านหลัง(facet joint)โตขึ้น และมีการหนาตัวขึ้นของเนื้อเยื่อในโพรงประสาท ซึ่งทั้งหมดนี้จะมีส่วนทำให้โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ โดยการเกิดเป็นจากความเสื่อมตามอายุ กรรมพันธุ์และการใช้งานก็มีส่วนในการเกิดร่วมด้วย

อ่านเพิ่มเติม

Gender Affirming Surgery VDO series Ep.2 การผ่าตัดแบบ Top Surgery

การผ่าตัดหน้าอก หรือ Top Surgery ในคนข้ามเพศ เตรียมตัวอย่างไร?

อ่านเพิ่มเติม

กระดูกคอเสื่อม กดทับเส้นประสาทรักษาได้

กระดูกคอเสื่อมเกิดขึ้นได้จากการเสื่อมสภาพจากอายุที่มากขึ้นและการใช้งาน เนื่องจากกระดูกคอต้องแบกน้ำหนัก ศีรษะ และต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา การเสื่อมย่อมเกิดขึ้นทุกคน และการเสื่อมสภาพมากน้อยแต่ละคนจะไม่เท่ากัน

อ่านเพิ่มเติม

การตรวจหาไขมันพอกตับด้วยไฟโบรสแกน (FibroScan) คืออะไร

เทคโนโลยี Fibroscan ช่วยในการตรวจวินิจฉัยภาวะพังผืดของตับ (hepatic fibrosis) และตรวจประเมินปริมาณไขมันพอกตับ (liver fat) ทำให้แพทย์สามารถทราบระดับความรุนแรงของโรคและติดตามผลการรักษา

อ่านเพิ่มเติม