You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
อาการเริ่มแรกของผมจะมีอาการปวดที่บริเวณสะบักด้านซ้ายกับต้นคอ ในช่วงแรกปวดไม่ค่อยมาก อาการปวดจะเริ่มมีเมื่อนั่งหน้าคอมฯเป็นเวลานานๆ โดยเป็นๆหายๆไม่ได้ปวดตลอดเวลา ปวดแบบนี้มาประมาณหนึ่งปี จนเข้าปีที่สอง อาการปวดเริ่มแย่ลง ปวดมากขึ้น เวลาผมเงยคอจะมีอาการชา ร้าวลงมาที่แขนซ้าย
หากท่านผู้อ่านมีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป หรือมีคนใกล้ชิดที่มีอาการชาขา หรือปวดขาขณะที่เดิน เดินได้ระยะทางสั้นลงเรื่อยๆ ต้องนั่งพักบ่อยๆ อาจเสี่ยงกับปัญหากระดูกทับเส้นประสาท โรคนี้เป็นโรคของความเสื่อม และไม่อันตราย
คุณพรชนก ทอมสัน โกลวเวอร์ เป็นคนไข้ของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์มากว่า 30 ปี ปัจจุบันคุณพรชนกพักอาศัยอยู่ที่ประเทศไทยและประเทศอังกฤษ และต้องเดินทางไปมาระหว่าง 2 ประเทศ แต่คุณพรชนกเลือกที่จะรักษาตัวที่ประเทศไทยกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์เพราะมั่นใจในความรู้และความชำนาญของแพทย์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย ที่ช่วยให้การผ่าตัดที่พลิกฟื้นคุณภาพชีวิตของคุณพรชนกหลังจากนั้น
เหตุผล 3 ข้อที่คุณไม่ควรวิตกกังวลเกี่ยวกับหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทที่หมอแมท หรือ นพ. ปวินท์ เกษมพิพัฒน์ชัยได้รวบรวมมาจากคนไข้ที่มักจะวิตกกังวลเมื่อมีอาการ หรือถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
โรคทางกระดูกสันหลังที่พบได้บ่อย เจอ 1-3% ของคนทั่วไป มักเจอในวัยกลางคน อายุ 40 ปี เจอในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 60%/40% สาเหตุเกิดจาก หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อมตามอายุ ตามกรรมพันธุ์ ตามการใช้งาน หลังจากเสื่อมก็มีรูปริของหมอนรองกระดูก ทำให้หมอนรองกระดูกที่อยู่ข้างในเคลื่อนออกมากดทับเส้นประสาท
การผ่าตัดแบบดามเหล็กเชื่อมข้อกระดูกมักจะนำมาใช้กับอาการบาดเจ็บแบบไหน แล้วข้อดีของการผ่าตัดแบบดามเหล็กนี้จะช่วยแก้ไขเรื่องอะไรได้บ้าง รับฟังได้ที่นี่
ใครที่ยังไม่อยากออกจากบ้านไปโรงพยาบาล แต่มีอาการปวดหลัง ปวดสะโพก สามารถเช็คว่าจะเป็นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทหรือไม่ ด้วย 5 วิธี ง่ายๆ ด้วยตนเอง
มาเข้าใจถึงสาเหตุของการปวดคอ ปวดหลัง และใครบ้างที่เสี่ยงในการเกิดอาการปวดคอ ปวดหลัง ซึ่งเป็นอาการส่วนใหญ่ของโรคกระดูกสันหลัง จาก นพ.วีระพันธ์ ควรทรงธรรม แพทย์ผู้ชำนาญการด้านประสาทศัลยศาสตร์สถาบันกระดูกสันหลัง โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์