bih.button.backtotop.text

บทความสุขภาพบำรุงราษฎร์

หมวดหมู่ของเนื้อหา

ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด

ประเภท : ทั้งหมด

ล้างทั้งหมด

ปวดถ่ายอีกแล้ว…ถ่ายหนักวันละหลายครั้งผิดปกติไหม

หลายคนอาจมีคำถามว่า ควรถ่ายหนักบ่อยครั้งแค่ไหนจึงจะเรียกว่าปกติ คนแต่ละคนมีอุปนิสัยการถ่ายหนักแตกต่างกันออกไป จึงไม่สามารถบอกได้อย่างเฉพาะเจาะจงว่าควรถ่ายหนักวันละกี่ครั้ง การที่จะบอกว่าคนๆนั้นถ่ายหนักบ่อยครั้งกว่าปกติจึงต้องดูรูปแบบการถ่ายหนักของแต่ละคนประกอบด้วย

อ่านเพิ่มเติม

ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

ให้บริการดูแลด้านหัวใจอย่างครอบคลุม ด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีการรักษาที่ทันสมัย

อ่านเพิ่มเติม

The Portrait | ภาพชีวิต ระบายฝัน ผ่าน "มะเร็ง"

“ฉันคิดว่า การที่มีความคิดแง่บวก ไม่กดดันตัวเอง และคิดอยู่เสมอว่า เราไม่ได้ป่วยเป็นมะเร็ง ทำชีวิตให้เป็นปกติ และมีความสุขในแบบอย่างที่เราเคยเป็น นั่นจะเป็นทางที่ทำให้เรารักษาและหายจากการเป็นโรคร้ายนี้ได้” หนึ่งในความคิดดีๆของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม คุณ Tin May Lwin ที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งฮอไรซัน และทำให้เธอได้ชีวิตที่สนุกสดใสกลับคืนมา

อ่านเพิ่มเติม

ควบคุมน้ำหนักและรักษาโรคอ้วน ตอน ดูแลตัวเองอย่างไร ไม่ให้น้ำหนักกลับมาเพิ่ม

ปัญหาการควบคุมน้ำหนักแล้วน้ำหนักกลับมาเพิ่มเมื่อเผลอทานเยอะ เป็นเรื่องที่พบเจออยู่บ่อยครั้ง เรามีความรู้และเทคนิคดีๆ มาฝาก

อ่านเพิ่มเติม

ปราการด่านแรกจำแนกผู้ป่วยเพื่อรับมือกับมะเร็ง

การตรวจพบและวินิจฉัยโรคอย่างแม่นยำ เป็นสิ่งจำเป็นในการใช้ดูแลและวางแผนการรักษาผู้ป่วย จึงเป็นหน้าที่ที่สำคัญมากของ รังสีแพทย์ (Radiologist) อย่างเช่น พญ.กมลธรรม พูลภิญโญ (Dr.Kamoltham Pulpinyo) รังสีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเต้านม (Breast Interventionist) แห่งโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ที่เน้นถึงความแม่นยำและความฉับไวในการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านม

อ่านเพิ่มเติม

มาสแกนกรรม (พันธุ์) ลำไส้ใหญ่กันเถอะ! ตัดตอนมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยเทคโนโลยีคัดกรองระดับยีน

ยิ่งนับวันผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ยิ่งมีแนวโน้มที่จะอายุน้อยลงเรื่อย ๆ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งทั้งที่ยังอายุไม่ถึง 50 ปีนั้นเพิ่มมากขึ้นถึงสองเท่าในรอบสามสิบปีที่ผ่านมา แต่นอกจากการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่แล้ว คุณยังสามารถตรวจเชิงรุกยิ่งกว่านั้น ด้วยการตรวจคัดกรองยีนเพื่อให้รู้แนวโน้มในการเกิดมะเร็งเสียแต่เนิ่นๆ

อ่านเพิ่มเติม

ควบคุมน้ำหนักและรักษาโรคอ้วน ตอน ทางเลือกใหม่ในการรักษาโรคอ้วน โดยไม่ต้องผ่าตัด

หากพูดถึงการผ่าตัดกระเพาะอาหาร ผู้ป่วยหลายท่านอาจมีความกังวลในการผ่าตัด ไม่ว่าจะเป็นแผลติดเชื้อ หรือการพักฟื้นนาน ปัจจุบันเรามีอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีส่องกล้องผ่าตัดกระเพาะอาหาร มีข้อดีอย่างไร

อ่านเพิ่มเติม

ผ่าทางตันในการรักษามะเร็งกระเพาะปัสสาวะด้วยยารักษาแบบเฉพาะจุด

มะเร็งกระเพาะปัสสาวะถือเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับสิบของโลก และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตด้วยมะเร็งอันดับที่สิบสอง การตรวจพบแต่เนิ่น ๆ จะเพิ่มอัตราการรอดชีวิตได้ถึงสามเท่า โดยโอกาสรอดชีวิตของผู้ป่วยซึ่งตรวจพบในระยะแพร่กระจายจะอยู่ที่ร้อยละ 33 เท่านั้น แต่การค้นพบใหม่ในการรักษามะเร็งเฉพาะจุดอาจเข้ามาผ่าทางตันได้ทันเวลา โดยเมื่อปีที่แล้วองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USFDA) เพิ่งอนุมัติให้ใช้ erdafitinib ซึ่งออกฤทธิ์ขัดขวางการทำงานของยีน FGFR เป็นยารักษาแบบเฉพาะจุดตัวแรกสำหรับมะเร็งกระเพาะปัสสาวะระยะลุกลามหรือแพร่กระจายในผู้ใหญ่ ที่น่าตื่นเต้นเป็นอย่างยิ่งก็คือ FGFR เป็นโปรตีนที่พบได้ในเซลล์ต่าง ๆ ทั่วทั้งร่างกาย ทำให้มีโอกาสที่ยานี้รักษามะเร็งชนิดอื่น ๆ ได้เช่นกัน ซึ่งรวมถึงมะเร็งที่รักษายากที่สุดชนิดหนึ่ง คือมะเร็งสมองกลิโอมา (glioma) ด้วย

อ่านเพิ่มเติม

ควบคุมน้ำหนักและรักษาโรคอ้วน ตอน ผ่าตัดกระเพาะอาหาร อีกหนึ่งทางเลือกในการลดน้ำหนัก

วิธีการรักษาผู้ที่มีน้ำหนักมาก หรือโรคอ้วนโดยการผ่าตัดกระเพาะอาหาร หลายท่านคงเคยได้ยินวิธีนี้อยู่เป็นประจำ แต่วิธีนี้จะเหมาะกับใครบ้าง มีข้อดีอย่างไร

อ่านเพิ่มเติม