bih.button.backtotop.text
ท้องผูกตั้งแต่จำความได้ แต่สามารถรักษาได้ด้วยการฝึกเบ่ง (Biofeedback)
คุณเจนณิสตา มีอาการท้องผูกตั้งแต่จำความได้ แต่คิดว่าเป็นเรื่องปกติ จึงซื้อยาระบายมาโดยตลอด แท้จริงผู้ป่วยมีภาวะ Dyssynergic defecation ซึ่งเกิดจากภาวะหูรูดทวารหนักทำงานไม่สัมพันธ์กับการสั่งการ ส่งผลให้มีอาการท้องผูกเรื้อรัง ซึ่งรักษาได้โดยการฝึกเบ่งให้ถูกวิธี
Posted by Bumrungrad International
29 พฤศจิกายน 2566
comments
ทำความรู้จักกับโรคทางพันธุกรรรมที่ถ่ายทอดสู่ลูกได้
ในแต่ละปี มีผู้ป่วยจำนวนมากมายที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเรื้อรัง รวมถึงโรคหายากอื่นๆ โรคเหล่านี้อาจเป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ที่บางครั้งพ่อแม่ไม่มีอาการ แต่มียีนผิดปกติแฝงอยู่ในร่างกายและเป็น “พาหะ” ถ่ายทอดไปยังลูก ทำให้ลูกสามารถเป็นโรคได้
Posted by Bumrungrad International
24 พฤศจิกายน 2566
comments
โรคพันธุกรรมของกล้ามเนื้อ หนึ่งในโรคที่เกิดจากพันธุกรรม
ในการศึกษาวิจัยพบว่าคนประมาณ 22 คนใน 100,000 คนทั่วโลกเป็นโรคกล้ามเนื้อที่มาจากพันธุกรรม ถึงแม้เป็นโรคที่หายากแต่หากนับจำนวนผู้ป่วยทั่วโลกก็ถือว่าไม่น้อยเลย โรคพันธุกรรมของกล้ามเนื้อมีหลากหลายชนิด หลายร้อยโรค โดยแบ่งออกได้ เป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆคือ กล้ามเนื้อเสื่อม (muscular dystrophy) กล้ามเนื้อผิดปกติแต่กำเนิด (congenital myopathy) กล้ามเนื้อผิดปกติจากเมแทบอลิซึม (metabolic myopathy) และโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงแบบต่างๆ
Posted by Bumrungrad International
24 พฤศจิกายน 2566
comments
ลดความเสี่ยงในการผ่าตัดสมองด้วยเทคโนโลยีนำวิถี (neuro navigator)
สมองเป็นอวัยวะสำคัญและมีความซับซ้อนมากที่สุดในร่างกาย ดังนั้นการผ่าตัดสมองจึงเป็นเรื่องที่ยากและซับซ้อน และมีความเสี่ยงในการบาดเจ็บต่ออวัยวะที่สำคัญในสมอง ปัจจุบันเรามีเทคโนโลยีนำวิถี (neuro navigator) ที่ช่วยให้การผ่าตัดสมองเป็นเรื่องที่ทำได้อย่างปลอดภัยยิ่งขึ้น ติดตามรายละเอียดได้จากบทความนี้
Posted by Bumrungrad International
17 พฤศจิกายน 2566
comments
รักษาโรคลิ้นหัวใจไตรคัสปิดรั่วโดยไม่ต้องผ่าตัด
โรคลิ้นหัวใจรั่วคือภาวะที่ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท ส่งผลทำให้เลือดไหลย้อนกลับทาง ซึ่งภาวะนี้สามารถเกิดขึ้นได้กับลิ้นหัวใจทั้ง 4 ลิ้น ลิ้นหัวใจไตรคัสปิด (Tricuspid valve) เป็นลิ้นหัวใจขวาที่กั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวาและห้องล่างขวา มีหน้าที่ช่วยให้เลือดไหลจากหัวใจห้องบนขวาไปยังห้องล่างขวาและป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
Posted by Bumrungrad International
16 พฤศจิกายน 2566
comments
ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์แต่กำเนิด
ฮอร์โมนไทรอยด์เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์ซึ่งมีตำแหน่งอยู่บริเวณด้านหน้าของลำคอ มีบทบาทในการควบคุมเมแทบอลิซึมของร่างกาย และในเด็กมีความสำคัญต่อการเติบโตและการพัฒนาของสมอง
Posted by Bumrungrad International
15 พฤศจิกายน 2566
comments
โรคหลอดเลือดสมองป้องกันได้
การป้องกันเป็นการรักษาโรคหลอดเลือดสมองที่ดีที่สุด และควรป้องกันก่อนการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง คือ ต้องควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้หลอดเลือดเกิดการตีบ อุดตัน หรือแตก เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ หรือขาดการออกกำลังกาย เป็นต้น
Posted by Bumrungrad International
08 พฤศจิกายน 2566
comments
ใครบ้างเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองมีหลายสาเหตุ แบ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้ และปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้มักมีสาเหตุจากสุขภาพโดยรวมและรูปแบบการดำเนินชีวิต
Posted by Bumrungrad International
06 พฤศจิกายน 2566
comments
Take Control of Your Health, The Undeniable Benefits of Regular Check-ups
Discover the benefits of early detection and why making time for regular health check-ups could be the best decision for your long-term health. Learn how proactive screenings can keep you one step ahead of illness, ensuring peace of mind and a healthier future.
Posted by Bumrungrad International
06 พฤศจิกายน 2566
comments
Эрүүл мэндээ хянаж байгаарай, тогтмол үзлэгт хамрагдахын маргаангүй ашиг тус
Өнөөгийн хурдацтай хөгжиж буй ертөнцөд бид эрүүл мэндээ нэн тэргүүнд чухалчлахыг ихэвчлэн хойш тавих гээд байдаг. Гэтэл эрүүл мэндийн тогтмол үзлэг болон эрт илрүүлгийн ач холбогдлыг үнэлж баршгүй билээ.
Posted by Bumrungrad International
06 พฤศจิกายน 2566
comments
  < 1 - 2  >