You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
ภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน อาจเป็นภัยเงียบจากโรคทางพันธุกรรมที่คุณไม่รู้ตัว ซึ่งคุณสามารถรับมือกับภาวะนี้ได้ด้วยการตรวจพันธุกรรม เพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะหัวใจเฉียบพลันจากกลุ่มโรคต่างๆ
สนทนากับมีเดียกูรู สุทธิชัย หยุ่น ในหัวข้อรู้เท่าทันสาเหตุ และ รับมือกับหัวใจวายเฉียบพลัน! โดย นพ.วิสุทธิ์ วิเวกาภิรัต หัวหน้าศูนย์รักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบแบบซับซ้อน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
'หินปูน' ที่เกาะอยู่บริเวณผนังหลอดเลือดหัวใจ เกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งจากการเสื่อมของแคลเซียมในร่างกาย ที่สะสมจนกลายเป็นก้อนแข็ง หรืออาจแฝงตัวมากับคราบไขมัน
หัวใจวายหรือกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เกิดจากมีการอุดตันที่หลอดเลือดหัวใจอย่างเฉียบพลันและขัดขวางการไหลของเลือดจนทำให้เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงหัวใจได้ เมื่อหัวใจขาดเลือด ผลที่ตามมาก็คือกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หรือที่รู้จักกันดีว่าหัวใจวาย (heart attack) เป็นโรคที่ทำให้มีการเสียชีวิตค่อนข้างสูง สิ่งสำคัญที่สุดที่จะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของโรคนี้และทำให้ผู้ป่วยสามารถมีคุณภาพชีวิตได้ดีตามปกติคือ การวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็วและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ควรทำความรู้จักโรคนี้กันให้ดี เพราะทุกนาทีมีค่าต่อชีวิต
อาการที่ควรระวังของกล้ามเนื้อหัวใจวายเฉียบพลันหรือหัวใจวายมีอะไรบ้าง เราสามารถป้องกันได้หรือไม่
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน หรือที่เรียกกันอย่าง คุ้นปากกว่าหัวใจวายนั้นเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตของ คนไทยเช่นเดียวกับคนทั่วโลก โดยข้อมูลจากสถาบันโรคทรวงอก ระบุว่าในระหว่างปี พ.ศ. 2548-2552
ลำพังโรคเบาหวาน หรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอย่างใดอย่างหนึ่งก็แย่พอแล้ว ความจริงที่น่าวิตกก็คือ ทั้งสองโรคนี้มักจะเกิดในผู้ป่วยกลุ่มเดียวกัน ทั้งนี้ วารสาร Cell Metabolism
เอกสารเผยแพร่ของกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ระบุว่าสาเหตุการเสียชีวิต 3 อันดับแรกของประชากรโลกนั้น