You're been inactive for a while. For security reason, we'll automatically sign you out from our website. Please Click "Login" to extend your session
ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจ กำหนดการนัด และอื่นๆ
ขณะนี้ ไม่สามารถเข้าสู่ระบบด้วยเบอร์โทรศัพท์เป็นการชั่วคราว ขออภัยในความไม่สะดวก
ยังไม่มีบัญชี? Create Account
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
มีบัญชีอยู่แล้ว? Log In
ตัวคัดกรองที่เลือก: ทั้งหมด
ประเภท : ทั้งหมด
ล้างทั้งหมด
ผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไข้สมองอักเสบเจอีสูงคือผู้ที่เดินทางไปในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคนี้และพักอยู่ใน บริเวณดังกล่าวเป็นเวลานาน ผู้ที่ติดเชื้อไข้สมองอักเสบเจอีส่วนใหญ่มักไม่มีอาการแสดงใดๆ แต่เชื้อไวรัสนี้สามารถทำให้เกิด อาการป่วยตั้งแต่ไข้ ปวดศีรษะ จนถึงสมองอักเสบรุนแรง
การที่เรามีหลอดเลือดสมองตีบ บางครั้งอาจจะยังไม่มีอาการแต่ถ้าเราทิ้งไว้ ในอนาคต จะทำให้เกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ได้เพราะฉะนั้นการตรวจหา แล้วการรักษาก่อนที่จะเกิดโรคมีความสำคัญเป็นอย่างมากวิธีที่ง่ายและรวดเร็วในการตรวจ คือการตรวจอัลตราซาวนด์หลอดเลือดสมองซึ่งประกอบไปด้วย Carotid Ultrasound และ TCD Carotid Ultrasound
การที่มีหลอดเลือดสมองตีบนั้น บางครั้งยังไม่ก่อให้เกิดอาการใดๆ แต่ถ้าทิ้งไว้จะทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคอัมพาตอัมพฤกษ์ซึ่งอาจร้ายแรงถึงชีวิตได้ การหาความเสี่ยงและป้องกันก่อนที่จะเกิดโรคนั้นจึงมีความสำคัญอย่างมาก การหาความเสี่ยงวิธีง่ายๆทำได้อย่างไรอ่านได้จากบทความนี้
เมื่อพูดถึงโรคร้ายที่เป็นอันตรายถึงชีวิต คนส่วนใหญ่มักนึกถึงโรคมะเร็งและโรคหัวใจเป็นลำดับแรกๆ แต่จากสถิติในประเทศไทยพบว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวันอันควรสูงเป็นอันดับหนึ่งในเพศหญิงและสูงเป็นอันดับสองในเพศชาย รวมถึงทำให้มีอัตราตายมากกว่าโรคหัวใจขาดเลือดและโรคเบาหวานถึง 2 เท่าตัว บทความนี้จะพาทุกท่านให้รู้เท่าทันโรคหลอดเลือดสมองกันให้มากขึ้นค่ะ
ในผู้ป่วยโรคลมชักการใช้ยากันชักเพื่อคุมอาการเป็นวิธีการรักษาที่สะดวกและได้ผลลัพธ์ที่อย่างไรก็ตามแม้จะมีการใช้ยากันชักที่มีประสิทธิภาพดีแล้ว แต่ผู้ป่วยโรคลมชักบางรายอาจไม่ตอบสนองต่อการรักษาเลยและจำเป็นต้องเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่นแทน
โรคลมชักหากเกิดขึ้นในเด็ก คุณพ่อคุณแม่อาจจะตกใจ และมีความกังวลเป็นอย่างมาก วิดีนี้มีข้อมูลที่น่าสนใจให้เรียนรู้รับมือกันค่ะ
โรคลมชักเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ วิธีการรักษาก็มีความหลากหลายเช่นกัน และทุกแนวทางก็มีเป้าหมายเดียวกัน คือทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ปัจจุบันมีอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ เข้ามามีบทบาทช่วยให้แพทย์ทำการรักษาได้อย่างตรงจุดเพื่อผลลัพธ์ที่ดีและความปลอดภัยสูงสุดของคนไข้ทุกคน
สมองเป็นอวัยวะสำคัญและมีความซับซ้อนมากที่สุดในร่างกาย ดังนั้นการผ่าตัดสมองจึงเป็นเรื่องที่ยากและซับซ้อน และมีความเสี่ยงในการบาดเจ็บต่ออวัยวะที่สำคัญในสมอง ปัจจุบันเรามีเทคโนโลยีนำวิถี (neuro navigator) ที่ช่วยให้การผ่าตัดสมองเป็นเรื่องที่ทำได้อย่างปลอดภัยยิ่งขึ้น ติดตามรายละเอียดได้จากบทความนี้